งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

– Web Programming and Web Database

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "– Web Programming and Web Database"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 357337 – Web Programming and Web Database
HTML & PHP – Web Programming and Web Database

2 HTML Forms and Input คือ Tag ใน HTML ที่สามารถสร้างขึ้นมาเพื่อให้ผู้ใช้สามารถใส่ค่า Input ต่าง ๆ ได้ ซึ่งประกอบไปด้วย input element ต่าง ๆ เช่น text fields, textarea fields, drop-down menus, radio buttons, checkboxes, etc. รูปแบบของ HTML Form <form> <input> <input> input elements . . </form>

3 Input : Text Field <input type="text" name=“………" />
<html><body> <form> First name: <input type="text" name="firstname" /> <br /> Last name: <input type="text" name="lastname" /> </form> </body></html>

4 Input : Text Field (2)

5 Input : Radio Buttons <input type=“radio” name=“...” value=“…“>
<form> <input type="radio" name="sex" value="male"> Male <br> <input type="radio" name="sex" value="female"> Female </form>

6 Input : CheckBoxes <input type=“checkbox” name=“...” value=“…”>
<form> bike: <input type="checkbox" name="vehicle" value="Bike"> <br> car: <input type="checkbox" name="vehicle" value="Car"> plane: <input type="checkbox" name="vehicle“ value=“Plane"> </form>

7 Input : DROP-DOWN menu

8 การส่งผ่านค่าใน FORM และ Submit Button
<form name=“….” action=“…” method=“…”> <input type=“submit” value=“…”> <form name=“survey” action=“survey.html” method=“get”> Username : <input type=“text” name=“username”> <br> Password : <input type = “password” name=“passwd”> <input type=“submit” value=“Login”> </form>

9 การส่งผ่านค่าใน FORM และ Submit Button (2)
<html> <body> ………………. survey.html

10 PHP PHP มาจาก PHP : Hypertext Preprocessor
ทำงานที่ฝั่งของ server เช่นเดียวกับ ASP สามารถทำงานร่วมกับระบบฐานข้อมูลได้หลายชนิด (MySQL, Informix, Oracle, Sybase, ..etc) PHP เป็น open source PHP ฟรี PHP สามารถทำงานได้ในหลาย OS (Windows, Linux, Unix, etc..) Web server เกือบทุกเจ้ารองรับ PHP (IIS, Apache) โดยปกติจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในรูป .php , .php3 หรือ .phtml

11 ก่อนจะเริ่มเขียน PHP *** ต้องทำการติดตั้งโปรแกรม PHP ก่อน *** AppServ
ในการเรียนการสอนต่อไป เราจะใช้ AppServ ซึ่งไปการรวม software หลายอย่างเข้าด้วยกัน เพื่อเป็น package ที่ง่ายในการติดตั้ง และ ใช้งาน Website: ในโปรแกรม AppServ (AppServ ) จะประกอบไปด้วย Apache : เป็นโปรแกรม web server PHP : module PHP ที่ทำให้ web server สามารถใช้งานภาษา PHP ได้ MySQL b : ระบบฐานข้อมูล mySQL phpMyAdmin : เป็น web page ที่ช่วยในการติดต่อการระบบฐานข้อมูล mySQL ทำให้ทำงานกับระบบฐานข้อมูล mySQL ได้ง่ายขึ้น

12 เริ่มต้นกับ PHP Syntax ของ PHP จะอยู่ในรูป <?php โปรแกรม PHP ?>
ทดลองง่ายๆ ก่อนกับฟังค์ชั่น echo Comment ใน PHP ใช้เหมือนภาษา C , Java คือ // และ /* */ <html> <body> <? echo “Hello World”; ?> </body> </html>

13 PHP HTML <html> <body> <? echo “Hello World”; ?>

14 การประกาศตัวแปรใน PHP
$myVariable = 5; $txt = “Hello World”; PHP เป็นภาษา script ที่ไม่สนใจประเภทของข้อมูลจึงไม่จำเป็นต้องประกาศประเภทของข้อมูล (int, string,..) ให้กับตัวแปร ตัวอย่าง : <? $txt = “Hello World”; echo $txt; ?>

15 PHP Operator การเชื่อมต่อข้อความ จะเชื่อมต่อด้วยเครื่องหมายจุด “ . “
การเชื่อมต่อข้อความ จะเชื่อมต่อด้วยเครื่องหมายจุด “ . “ <? $txt1=“Hello World”; $txt2 =“123”; echo $txt1 . “ “ $txt2; ?> การทำ arithmetic operation ก็ใช้เครื่องหมายเหมือนภาษา C, java +, - , * , / , %, ++, --, +=, -= , == , != , <=

16 PHP Condition : If-else
If-else ลักษณะการทำงานเหมือนกับภาษา C, Java if (เงื่อนไข ) { คำสั่งถ้าเป็นจริงที่ 1; คำสั่งถ้าเป็นจริงที่ 2; … คำสั่งถ้าเป็นจริงที่ N; } else { คำสั่งถ้าเป็นเท็จ ที่1; คำสั่งถ้าเป็นเท็จ ที่2; … คำสั่งถ้าเป็นเท็จ ที่N; }

17 ตัวอย่าง PHP Condition : If-else
<? $score = 75; if($score >= 80) echo “A”; else if($score >= 70) echo “B”; else if($score >= 60) echo “C”; else if($score >= 50) echo “D”; else echo “F”; ?>

18 PHP Condition : Switch switch (n) { case เงื่อนไขที่1:   คำสั่ง ถ้า n = เงื่อนไขที่ 1   break; case เงื่อนไขที่2:    คำสั่ง ถ้า n = เงื่อนไขที่ 2   break; default:    คำสั่ง ถ้า n ไม่ตรงกับเงื่อนไขที่ 1 และ 2 }

19 ตัวอย่าง PHP Condition : Switch
$x = 4; switch ($x) { case 1:   echo "Number 1";   break; case 2:   echo "Number 2";   break; case 3:   echo "Number 3";   break; default:   echo "No number between 1 and 3"; } ?>

20 PHP Arrays การประกาศตัวแปรแบบข้อมูลชุด ซึ่งจะมีหลาย ๆ ค่าในชื่อตัวแปรเดียว ประกอบไปด้วยarray ทั้งหมด 3 ชนิด Numeric array – Array ที่ใช้ index เป็นตัวเลข Associative array - Array ที่ใช้ index เป็นค่าต่าง ๆ Multidimensional array - Array ที่ประกอบไปด้วย Array ซ้อนกัน

21 Numeric array ประกาศได้ 2 แบบ คือ
$cars=array("Saab","Volvo","BMW","Toyota"); $cars[0]="Saab"; $cars[1]="Volvo"; $cars[2]="BMW"; $cars[3]="Toyota"; ตัวอย่าง <?php $cars[0]="Saab"; $cars[1]="Volvo"; $cars[2]="BMW"; $cars[3]="Toyota"; echo $cars[0] . " and " . $cars[1] . " are Swedish cars."; ?>

22 Associative array ประกาศได้ 2 แบบ คือ
$ages = array("Peter"=>32, "Quagmire"=>30, "Joe"=>34); $ages['Peter'] = "32"; $ages['Quagmire'] = "30"; $ages['Joe'] = "34"; ตัวอย่าง <?php $ages['Peter'] = "32"; $ages['Quagmire'] = "30"; $ages['Joe'] = "34"; echo "Peter is " . $ages['Peter'] . " years old."; ?>

23 HTML + PHP PHP จะสามารถรับค่าจาก form ของ HTML เช่น จากตัวอย่างคิดเกรด เราจะทำหน้า web page เพื่อรับค่า score แล้วส่งค่าไปให้ php PHP <html> <form action=“a.php" method="get"> score : <input type="text" name="score"> <input type="submit" value="submit"> </form> </html>

24 การรับค่าใน PHP grade.html
ใน HTML FORM จะมี method อยู่ 2 แบบ คือ get และ post การดึงค่าจาก method=“get” จะดึงค่าจากตัวแปรที่ชื่อ $_GET การดึงค่าจาก method=“post” จะดึงค่าจากตัวแปรที่ชื่อ $_POST ทั้ง $_GET และ $_POST เป็นตัวแปรชนิด array <html> <? $score = $_GET[“score”]; if($score >= 80) echo “A”; else if($score >= 70) echo “B”; else if($score >= 60) echo “C”; else if($score >= 50) echo “D”; else echo “F”; ?> </html> <html> <form action=“a.php" method="get"> score : <input type="text" name="score“> <input type="submit" value="submit"> </form> </html> grade.html

25 GET และ POST Method ในระบบ form คือ GET และ POST มีความแตกต่างกันดังนี้ GET ค่าที่เราใส่เข้าไปจะถูกแสดงใน URL ของหน้าใน action ทำให้มีความไม่ปลอดภัยถ้าค่าที่จะส่งอีกหน้าเป็น password เพราะจะถูกแสดงใน URL แต่จะทำให้สามารถทำ bookmark ได้ POST ค่าที่ใส่ใน form จะไม่ถูกแสดงใน URL ของหน้าใน action ทำให้มีความปลอดภัยในข้อมูลที่ส่งระหว่างหน้าเว็บ แต่จะไม่สามารถทำ bookmark ได้


ดาวน์โหลด ppt – Web Programming and Web Database

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google