งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี นักวิชาการ ชำนาญการ

2 การพัฒนางาน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ ด้วยวิธี A DEVELOPMENT OF ……………..…………… DEPARTMENT OF ……………….. FACULTY OF ENGINEERING, KING MONGKUT’S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI BY ………………………………… โดย และคณะ FACULTY OF ENGINEERING, KING MONGKUT’S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI

3 ความเป็นมาและความสำคัญ
1. งาน มีความสำคัญต่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่กำลังพัฒนา คือ/เนื่องจาก ก่อให้เกิด เป็นจำนวนมากทั่วโลก 2. การแก้ปัญหางาน อย่างยั่งยืน ต้อง โดยมีระยะเวลาดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ยาวนานกว่า 3 ปี ที่ได้ผลดี และ มีความมั่นใจว่าจะดำเนินการต่อไปในอนาคตอีกไม่น้อยกว่า 5 ปี 3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มุ่งมั่นเป็นมหาวิทยาลัยที่ใฝ่เรียนรู้ เน้นให้ทรัพยากรบุคคลของมหาวิทยาลัยทุกคน มาร่วมกันสร้างสรรค์ผลงาน สู่ความสำเร็จ ชื่อเสียง และอนาคตของมหาวิทยาลัย 4. คณะผู้วิจัย เป็นบุคคลของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ตระหนักถึงความสำคัญของงาน จึงมาร่วมกันแสวงหาและดำเนินการ เพื่อพัฒนางาน ให้เป็นแบบอย่างของการใฝ่เรียนรู้ ที่สามารถนำไปประยุกต์ได้อย่างกว้างขวางและหลากหลาย

4 วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อพัฒนางาน โดยใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่

5 Research Design เป็นวิจัยพัฒนาเชิงทดลอง (Experimental Development Research) แบบกลุ่มเดียว วัดหลายครั้ง ก่อน-หลัง การทดลอง (One group Pre-test Post-test Time series Design) ด้วยการพัฒนาระบบงาน/วิธีการใหม่ ของงาน ที่ได้นำหลักวิชาการที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์แบบผสมผสานกัน โดยใช้งาน พื้นที่ และ กลุ่มเป้าหมาย เป็นศูนย์กลาง นำระบบงาน/วิธีการที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ ที่ ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ระหว่างวันที่ ถึง รวม 3 ปี

6 เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน
ระหว่าง ก่อน กับ หลัง การนำระบบงาน/วิธีการ ที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ โดยใช้ค่าสถิติพรรณา

7 ประชากร และ กลุ่มตัวอย่าง
ประชากร คือ การทำงาน ที่ดำเนินการในแต่ละปี ระหว่างวันที่ ถึง จำนวน ครั้ง ใช้ประชากรทั้งหมด เป็นกลุ่มตัวอย่าง

8 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ของการดำเนินงาน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ของการดำเนินงาน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น โดยมีการปรับปรุงให้เหมาะสมเป็นระยะๆ ด้วยการนำไปปฏิบัติจริง ณ ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ระหว่างวันที่ ถึง แบบบันทึกผลการดำเนินงาน จำนวน ชุด

9 ขั้นตอน และ วิธีการ ในการสร้างและพัฒนาระบบงาน/วิธีการ ใหม่
สรุปได้เป็น 4 ขั้นตอน คือ 1. วิเคราะห์ระบบงาน/วิธีการ เดิม ในการดำเนินงาน.... ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อหาจุดหรือประเด็นที่ต้องปรับปรุงแก้ไข

10 2. กำหนดระบบงาน/วิธีการ ใหม่เบื้องต้น ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน โดยมีการปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อลดสภาพปัญหา 3. นำระบบงาน/วิธีการ ใหม่เบื้องต้น ที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ โดยมีการติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ แล้วนำผลที่ได้ มาปรับปรุงระบบงาน/วิธีการ กระบวนงาน และวิธีปฏิบัติ ให้เหมาะสมยิ่งๆขึ้น ในแต่ละปี ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4. เมื่อได้ดำเนินงานมาครบ 3 ปี นำผลการดำเนิน งานทั้งหลายตั้งแต่เริ่มต้น มาวิเคราะห์ และสรุปเป็น “ระบบงาน/วิธีการ สุดท้าย” ของการวิจัยครั้งนี้

11 ผลการวิจัย

12 การวิเคราะห์ระบบงาน/วิธีการ เดิม (ก่อนปี 2552)
ในการดำเนินงาน พบว่า 1. จุดเด่น คือ 2.จุดด้อย คือ 3.สิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไข คือ

13 สิ่งที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปจากระบบงาน/วิธีการ เดิม ได้แก่
ระบบงาน/วิธีการ ใหม่เบื้องต้น ในปี 2552 สิ่งที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปจากระบบงาน/วิธีการ เดิม ได้แก่ คือ คือ คือ

14 สิ่งที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปจากระบบงาน/วิธีการในปี 2552 ได้แก่
ระบบงาน/วิธีการ ในปี 2553 สิ่งที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปจากระบบงาน/วิธีการในปี ได้แก่ คือ คือ คือ

15 สิ่งที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปจากระบบงาน/วิธีการในปี 2553 ได้แก่
ระบบงาน/วิธีการ ในปี 2554 สิ่งที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปจากระบบงาน/วิธีการในปี ได้แก่ คือ คือ คือ

16 ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ ที่เหมาะสม
สรุปได้ ดังนี้ 1. การเตรียมความพร้อมก่อนเริ่มดำเนินงาน เป็นดังนี้ 2. การให้บริการอย่างประทับใจ เป็นดังนี้ 3.การสรุปผลการดำเนินงาน เป็นดังนี้

17 1.ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ ของการดำเนินงาน........................
1.ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ ของการดำเนินงาน

18 1. การเตรียมพร้อมก่อนการดำเนินงาน
2. การเตรียมพร้อมก่อนออกให้บริการแต่ละครั้ง 3. การต้อนรับผู้มารับบริการอย่างประทับใจตั้งแต่แรก 4. การให้บริการตรวจคัดกรองตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ 5. การให้บริการส่งผู้รับบริการกลับบ้าน 6. การสรุปผลการให้บริการ 7. การให้บริการติดตามผู้รับบริการที่ไม่มาตรวจ ผู้รับบริการ กลับออกไป ผู้รับบริการมาถึง 8. การประเมินผลการดำเนินงาน 1. การเตรียมพร้อมก่อนการดำเนินงาน

19 2. ผลการดำเนินงาน

20 ผลการดำเนินงาน ปี 2551-2554 ผลการดำเนินงาน 2551 2552 2553 2554
1. ปริมาณงาน 2. คุณภาพงาน 3.การได้รับรางวัล/การยอมรับ 4.เวลา/แรงงาน ที่ใช้ในการดำเนินงาน 5.ต้นทุนที่ใช้ในการดำเนินงาน 6.ความคุ้มค่าของการดำเนินงาน

21 ผลการดำเนินงาน ดีขึ้น จาก ....................ในปี 2551 มาเป็น
………..ในปี 2554

22 สรุปได้ว่า ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ ที่พัฒนาขึ้น เน้นการ
สรุปได้ว่า ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ ที่พัฒนาขึ้น เน้นการ “ดีกว่า” ระบบงาน/วิธีการ เดิม

23 อภิปรายผลการวิจัย ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ที่ได้พัฒนาขึ้น เป็นระบบงาน/วิธีการ ที่ดีและเหมาะสมกับ ที่มีข้อจำกัดด้านบุคลากรและมีภาระงานมาก เนื่องจาก ได้พัฒนาขึ้นด้วยความร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีการทำงานเป็นทีมอย่างจริงจัง เป็นที่ยอมรับจากผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ และ มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง สามารถให้บริการได้หลากหลาย ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการ โดยไม่เป็นภาระมากนักกับผู้ให้บริการ โดยใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่

24 ข้อเสนอแนะ

25 ข้อเสนอแนะ ในการนำสิ่งที่ได้ จากการวิจัย ไปใช้ประโยชน์
ข้อเสนอแนะ ในการนำสิ่งที่ได้ จากการวิจัย ไปใช้ประโยชน์

26 สิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้
1. ได้ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ ของงาน ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูง 2. ได้ผลการดำเนินงาน ที่ดีขึ้นในกลุ่มเป้าหมาย ทั้งด้าน ด้าน และ ด้าน ได้ข้อมูล 4. ได้ประสบการณ์

27 ข้อเสนอแนะทั่วไป ควรนำแนวคิด แนวทาง และ วิธีการ ที่ได้ดำเนินการในการวิจัยครั้งนี้ ไปเป็นบทเรียนตัวอย่าง ของการพัฒนาที่ไม่ต้องเพิ่มทรัพยากร สามารถนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาบุคลากร งาน หน่วยงาน ของตน โดยใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่

28 ข้อเสนอแนะเฉพาะ 1. สำหรับ พื้นที่วิจัย คือภาควิชา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2
ข้อเสนอแนะเฉพาะ 1.สำหรับ พื้นที่วิจัย คือภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สำหรับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สำหรับกระทรวงศึกษาธิการ สำหรับผู้สนใจ

29 ข้อเสนอแนะ ในการทำวิจัยต่อไป
1. การทำวิจัยในเรื่องเดิม 1.1 ควรพัฒนาให้ครอบคลุม “ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน” ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านปริมาณ ด้านคุณภาพ ด้านระยะเวลาและแรงงานที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง และ ด้านเศรษฐศาสตร์ 1.2 ควรทำวิจัยและพัฒนาต่อไป จนได้ “ตัวแบบ” ของงาน ที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพสูง และ ยั่งยืน

30 2. การทำวิจัยในเรื่องใหม่
ควรประยุกต์แนวทาง และวิธีการ ที่ได้ดำเนินการไปในการวิจัยในครั้งนี้ ไปใช้ในงานอื่นๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดประโยชน์ อย่างกว้างขวางและคุ้มค่ายิ่งๆขึ้น ด้วยหลักการ แนวคิด และ วิธีการ ของ การทำงานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มั่นคง และ ยั่งยืน

31 ขอขอบคุณ รศ.ดร.บุญเจริญ ................. คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ รศ.ดร.บุญเจริญ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ หัวหน้าภาควิชา คณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี นาง นาย คณะเจ้าหน้าที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ กลุ่มเป้าหมายทุกท่าน ที่ได้ให้โอกาสและให้การสนับสนุนในการทำวิจัย

32 ตัวอย่าง Slide power point
การทำงานประจำให้เป็นผลงานทางวิชาการ ขอขอบคุณ จากคณะผู้วิจัยมือใหม่ ผู้นำเสนอ สมชาติ โตรักษา


ดาวน์โหลด ppt คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google