ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
1. คำจำกัดความของอินทิกรัล ตัวอย่าง Y = f(x) = x2 d y = d f(x) = d (x2) = 2x dx dx dx d f(x) = 2x dx กำหนดให้ F(x) เป็นอนุพันธ์ของ f(x) เทียบกับ x จงหาฟังก์ชัน f(x) ถ้า F(x) d f(x) , f(x) = ? dx
2
สิ่งที่ต้องการหา = ? อ่านว่า อินทิกรัลของ F(x) เทียบกับ x จากคำจำกัดของ และ จะได้ ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัส
3
ตัวอย่างที่ 1 โจทย์ กำหนดว่า f(x) มีอนุพันธ์ = 2x จงหา f(x)
แนวการคิด d (?) = 2x dx เป็นไปได้ 2 คำตอบ คือ x2 กับ x2 + c d x2 = 2x และ d (x2+ c) = 2x dx dx คำตอบที่ดีที่สุด ของ C เป็นค่าคงตัว (arbitrary constant) หาได้จากเงื่อนไขเริ่มต้น (Initial condition) ที่โจทย์บอก
4
ตัวอย่างการหาค่า C จากตัวอย่างที่ 1 f(x) = x2 + C เงื่อนไข กำหนดให้ f(1) = 3 แทนค่า x = 1 ลงใน f(x) = x2 + C จะได้ f(1) = 3 = (1)2 + C C = 3 – 1 = 2
5
2. ผลที่ตามมาจากคำจำกัดความของอินทิกรัล
1. เน้น 2. 3. 4. เสริม ) 5.
6
3. สูตรของการอินทิกรัล 1. 2. 2. เน้น 3. 4. 5. 6. 7. เสริม 8.
7
4. ความหมายเชิงเรขาคณิตของอินทิกรัล
y กราฟของ y = F(x) กำหนดให้ A = A(x) เป็นฟังก์ชันของ พื้นที่ใต้กราฟ PQ ระหว่างจุด a ถึง จุด X กับแกน x เป็นพื้นที่ของรูป axQP Q y P x o a x x+x นั้นคือ ค่า เป็นพื้นที่ใต้กราฟจากจุด a ถึง x ถ้า x = b
8
แสดงว่า วิธีทางเรขาคณิต
แบ่งช่วง a ถึง x ออกเป็นช่วงเล็กๆที่มีความกว้าง x จำนวนมาก และคำนวณค่าพื้นที่ yx แต่ละแท่งเล็กๆรวมกัน โดยให้ค่า x0 จะได้ แสดงว่า
9
5. อินทิกรัลแบบไม่จำกัดเขตและแบบจำกัดเขต
การอินทิกรัลแบบไม่จำกัดเขต เช่น การอินทิกรัลแบบจำกัดเขต เช่น 6. คุณสมบัติเกี่ยวกับการอินทิกรัลแบบจำกัดเขต 1. ถ้า a > b แล้ว 2. เมื่อ a, b, c คือ จุดใดๆในช่วงการอินทิเกรต 3.
10
ตัวอย่างที่ 2 วิธีทำ ANS ตัวอย่างที่ 3 วิธีทำ ANS
11
ตัวอย่างที่ 4 วิธีทำ กำหนดให้ u = 2x du = 2 du = 2dx dx ANS
12
ตัวอย่างที่ 5 วิธีทำ กำหนดให้ u = cosx du = -sinx du = -sinxdx dx ANS
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.