ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยVuthisit Rattanapong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์ นสพ. พัชรินทร์ อ่อนอารีย์ นสพ. รัศมีแข จงธรรม์
2
ทบทวนวรรณกรรม การติดเชื้อของแผลผ่าตัด ร.พ.ราชบุรี โดย อนงค์ สุทธิพงษ์ พบว่าปัจจัยทำให้เกิด SSI : Dirty wound และการไม่โกนขนก่อนผ่าตัด เชื้อที่เป็นสาเหตุมากที่สุด คือ E.coli การติดเชื้อของแผลผ่าตัด ร.พ.สวรรค์ประชารักษ์ โดย รัชนี โกศัลวัฒน์ พบว่า ผู้ป่วยที่มี SSI มากที่สุด : Dirty wound เชื้อที่เป็นสาเหตุมากที่สุด คือ Ps. aeruginosa
3
คำถามหลัก ปัจจัยใดที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัด (SSI) ในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัดที่ห้องผ่าตัดใหญ่ ร.พ. พุทธชินราช
4
คำถามรอง ปัจจัยเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับ SSI อย่างไร
1. ระยะเวลาที่อยู่ ร.พ.ก่อนการผ่าตัด 2. ประเภทของการผ่าตัด 3. ระยะเวลาในการผ่าตัด 4. ผู้ทำการผ่าตัด 5. ชนิดของแผลผ่าตัด 6. การใส่ท่อระบายหลังการผ่าตัด เชื้อโรคชนิดใดที่เป็นสาเหตุ SSI มากที่สุด
5
วิธีการศึกษา Matched -pair case control ( case: control = 1:2 ) โดยใช้ ward , เพศ และอายุ ศึกษาย้อนหลัง 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค.- 31 ก.ค. 2543 เครื่องมือการวิจัย แบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ เวชระเบียนผู้ป่วยใน เเบบเก็บข้อมูล
6
วิธีการศึกษา (ต่อ) กลุ่มตัวอย่าง case : 41คน control : 82 คน รวมทั้งสิ้น 123คน วิธีวิเคราะห์ผล โดยใช้ odds ratio และ 95% CI
7
การคำนวณค่าทางสถิติของ Matched-pair case control กรณี case:control เป็น 1: Odds ratio ( OR ) = 2a + b e + 2f % CI : Var ( log OR) = (a + e ) . 2OR + 2OR(b+f) (OR +2) (2OR+1) ORL , ORU = OR exp { +- Z a/2 [ Var ( log OR )]1/2}
8
Surgical pts. 4,402 คน IC 55 คน DM Loss data 1 คน 5 คน No M.R.
No control 3 คน Case ที่ศึกษา 41 คน
9
ผลการวิจัย ข้อมูลแสดงอัตราการได้รับยาปฏิชีวนะจำแนกตามชนิดของแผลผ่าตัด
11
ผลการวิจัย (ต่อ) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัด
ผลการวิจัย (ต่อ) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัด
13
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงทำให้เกิด SSI ได้แก่
วิจารณ์ ผล ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงทำให้เกิด SSI ได้แก่ ระยะเวลาอยู่โรงพยาบาลก่อนการผ่าตัด > 2 วัน ระยะเวลาในการผ่าตัด > 3 ชั่วโมง Dirty wound การใส่ท่อระบาย *อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
14
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงป้องกัน SSI :
Emergency Non-staff *อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Contaminate wound มีอัตราการติดเชื้อมากกว่า Dirty wound เชื้อที่เป็นสาเหตุมากที่สุด คือ Ps.aeruginosa
15
ข้อเสนอแนะ ควรให้ผู้ป่วยอยู่ในร.พ.ตามความจำเป็น
หากเป็นไปได้ควรใช้เวลาในการผ่าตัดให้น้อยที่สุด ควรมีการเรียงลำดับการผ่าตัดก่อนหลังตามชนิดของแผล ควรใส่ drain ตามความจำเป็น ควรตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันการติดเชื้อ
16
ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป
ควรศึกษาแบบ Prospective ควรศึกษาในกลุ่มประชากรที่มี injury ของบาดแผลคล้ายคลึงกัน ควรศึกษาระยะเวลานานกว่า 3 เดือน ควรมีค่า Estimate ก่อนการวิจัย ปัจจัยอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
17
The end
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.