งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน
สัปดาห์ที่ 2 การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

2 ประวัติการค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ประโยชน์ของการศึกษา ประวัติการค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ ภาพรวมการศึกษาค้นคว้า วิชาประวัติศาสตร์ศิลปะไทยที่ผ่านมา แนวความคิดแฝง ที่มีอยู่ในการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะ การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

3 ประวัติการค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ประโยชน์ของการศึกษา ประวัติการค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ รู้แนวความคิด วิธีคิด แนวทางการค้นคว้าของนักวิชาการแต่ละยุค/แต่ละบุคคล ทำให้เห็นพัฒนาการทางความรู้ตั้งแต่ต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รู้ถึงจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์ความรู้ ทำให้การค้นคว้าวิจัยของเรามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

4 ภาพรวมการศึกษาค้นคว้า วิชาประวัติศาสตร์ศิลปะไทยที่ผ่านมา
ก่อนรัชกาลที่ 4 ช่วงรัชกาลที่ 4-5 ช่วงรัชกาลที่ 6-7 สานุศิษย์ของสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ช่วงบุกเบิกคณะโบราณคดี ช่วงตั้งภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ งานค้นคว้าในรอบสิบปีที่ผ่านมา การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

5 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น
ก่อนรัชกาลที่ 4 การค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในแบบที่รู้จักกันในปัจจุบันยังไม่เกิด แต่มีการกล่าวถึงศิลปะโบราณซึ่งปรากฏอยู่ในตำนาน พระราชพงศาวดาร จารึกหรือหลักฐานลายลักษณ์อักษรประเภทต่างๆ ช่วงรัชกาลที่ 4-5 มีการค้นคว้าที่เป็น กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

6 ช่วงรัชกาลที่ 6-7 รัชกาลที่ 6
ค้นคว้าโดยอิงอยู่กับหลักฐานลายกลักษณ์อักษรเป็นหลัก เช่น พระราชนิพนธ์เรื่อง เที่ยวเมืองพระร่วง, ไม่ได้ให้ความสำคัญต่อการศึกษารูปแบบศิลปะ ทำให้ข้อสันนิษฐานหลายๆอย่างคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง -สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มีการศึกษาที่ผสมผสานระหว่างการค้นคว้าทางด้าน เอกสารกับรูปแบบศิลปะ, มีแนวความคิดมุมมองต่อศิลปะที่หลาก หลายมากขึ้น แนวความคิดหลายประการของท่านยังได้รับการ เชื่อถืออยู่จนถึงปัจจุบัน การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

7 -สมเด็จฯกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
ค้นคว้าโดยใช้มุมมองของช่าง จึงเน้นหนักในการพิจารณาในเรื่องของฝีมือช่าง ไม่เน้นการค้นคว้าในแนวประวัติศาสตร์ สานุศิษย์ของสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ผสมผสานการค้นคว้าระหว่าง หลักฐานลายลักษณ์อักษรกับรูปแบบศิลปะ การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

8 ช่วงบุกเบิกคณะโบราณคดี
- แนวทางของศ.ศิลป์ พีระศรี การค้นคว้าที่เน้นในแง่มุมของสุนทรียศาสตร์ ความงาม การวิจารณ์โดยสายตาศิลปิน แนวทางการค้นคว้าของ มจ.สุภัทรดิศ ดิศกุล ค้นคว้าโดยผสมผสานกันระหว่างหลักฐานลายลักษณ์อักษรกับรูปแบบศิลปะ, เป็นบุคคลที่วางรากฐานการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะโดยใช้ทฤษฎีวิวัฒนาการ - แนวทางการค้นคว้าของ น ณ. ปากน้ำ ค้นคว้าโดยผสมผสานกันระหว่างหลักฐานลายลักษณ์อักษรกับรูปแบบศิลปะ มีแง่มุมของสุนทรียศาสตร์ และเทคนิคทางเชิงช่าง การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

9 ช่วงตั้งภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
- แนวทางของสานุศิษย์ของ มจ.สุภัทรดิศ ดิศกุล เน้นการศึกษาทางด้านรูปแบบ โดยใช้ทฤษฎีวิวัฒนาการ เช่น ศ.ดร.สันติ เล็กสุขุม - แนวทางของ รศ. ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ พยายามเสนอทฤษฎีใหม่ๆ เช่น การกำหนดอายุแบบใหม่ การจัดแบ่งยุคสมัยของศิลปะในประเทศไทย การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

10 แนวความคิดแฝงที่มีอยู่ในการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับกลุ่มชน ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับการเมือง อื่นๆ การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2


ดาวน์โหลด ppt สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google