ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPaween Somwan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ หน่วยที่ 8 การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
2
ความสำคัญของการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
1. ทางสังคม : แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) 2. ทางการเมือง : พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร ของทางราชการ พ.ศ. 2540 3. ทางเศรษฐกิจ : แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge – based Economy)
3
1. แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)
ศักยภาพและใช้ชีวิตอย่างมีความสุข นับเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากแรงจูงใจที่จะเรียนด้วยตนเองจากแหล่งการเรียนรู้ทุกชนิด
4
แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ต่อ) (Lifelong Learning)
แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ต่อ) (Lifelong Learning) แนวคิดดังกล่าวได้ถูกนำมาตราในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ โดยมาตรา 25 บัญญัติว่า “รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษ-ศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์กีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้อย่าง พอเพียงและมีประสิทธิภาพ”
5
2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ ทางราชการ พ.ศ 2540
เหตุผลสำคัญประการหนึ่งของการตราพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ คือ “ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐ เพื่อจะได้สามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยถูกต้องกับความเป็นจริง”
6
3. แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge – based Economy)
7
3. แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (ต่อ) (Knowledge – based Economy)
3. แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (ต่อ) (Knowledge – based Economy) การพัฒนาประชาชนและประเทศไปสู่เศรษฐกิจฐานความรู้นั้น ต้องการการสร้างปัจจัยสำคัญประการหนึ่ง คือ ความสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งความรู้
8
สรุป แนวคิดดังกล่าวจะเป็นจริงในทางปฏิบัติได้ก็ต่อเมื่อประชาชนไทยมีโอกาสและความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยที่รัฐต้องมีมาตรการที่ชัดเจนและจริงจังในการพัฒนาแหล่งสารสนเทศแต่ละระดับ
9
วิธีการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ การเข้าถึง แหล่งสารสนเทศ
ประเภทต่างๆ การเข้าถึง แหล่งสารสนเทศ ประเภท แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศแบบทางเดียว 1. ฟัง สื่อโสตทัศน์ สื่อหลายมิติ ผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ ของจริง สื่อโสตทัศน์ สื่อหลายมิติ 2. ดู 3. อ่าน ต้นฉบับตัวเขียน สื่อสิ่งพิมพ์ ไมโครฟอร์ม ฐานข้อมูล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อหลายมิติ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ แบบสองทาง พูดคุย สัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์
10
หลักการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
- Correct Matching (การจับคู่อย่างถูกต้องระหว่าง แหล่งสารสนเทศที่มีอยู่กับ ความต้องการผู้ใช้)
11
บทบาทของนักสารสนเทศใน การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
1. การเข้าถึงเชิงความรู้ (Intellectual Access) 2. การเข้าถึงเชิงกายภาพ (Physical Access)
12
ความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าถึง เชิงความรู้และการเข้าถึงเชิงกายภาพ
Correct Matching แหล่งสารสนเทศ (Information Sources) - สารสนเทศปฐมภูมิ - สารสนเทศทุติยภูมิ - สารสนเทศตติยภูมิ ข้อมูลตัวแทนสารสนเทศ และเครื่องมือช่วยค้น (Search Tools) - บรรณานุกรม - Metadata - บัญชีรายชื่อ - รหัส/เลขหมู่ - Catalogue - ดรรชนี - สาระสังเขป - Search Engines - OPAC ความต้องการของผู้ใช้ (Users’ Need) Intellectual Access Physical Access
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.