ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNawatkorn Nantakarn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การแสดงผลและ รับข้อมูล
2
คำสั่ง Write เป็นคำสั่งที่นำข้อมูลที่ ต้องการแสดงผลที่ จอภาพเมื่อตอนสั่งรัน โปรแกรมไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวเลข การ คำนวณ ก็แสดงผลได้ เช่นเดียวกัน
3
รูปแบบ Write( ข้อมูล 1[, ข้อมูล 2,... ข้อมูล n ]) เป็นการแสดงผลข้อมูลที่ต้องการ โดยข้อมูลแต่ละแบบ จะมีการใช้คำสั่ง ดังนี้ 1. การแสดงผลข้อมูลประเภท ข้อความจะมีเครื่องหมาย ‘ ปิด หน้าและหลังข้อความ ตัวอย่าง Write(‘Sriwattana’); Write(‘459+423’); Write(‘Sum 1…..100 = ‘);
4
2. การแสดงผลตัวแปร แบ่ง ออกเป็น 2 รูปแบบ 2.1 แสดงเฉพาะตัวแปร ตัวอย่าง Write(‘Sum =‘,Sum ); Write(‘Salary =‘,Salary); 2.2 แสดงตัวแปรร่วมกับข้อความ 2. การแสดงผลตัวแปร แบ่ง ออกเป็น 2 รูปแบบ ตัวอย่าง Write(Sum); Write(Salary); 2.1 แสดงเฉพาะตัวแปร ตัวอย่าง Write(‘Sum =‘,Sum ); Write(‘Salary =‘,Salary); 2.2 แสดงตัวแปรร่วมกับข้อความ ตัวอย่าง Write(‘Sum =‘,Sum ); Write(‘Salary =‘,Salary); 2.2 แสดงตัวแปรร่วมกับข้อความ
5
3. การแสดงผลการคำนวณ แบ่ง ออกเป็น 2 รูปแบบ ตัวอย่าง Write(489/2); Write(100+200*3); 3.1 แสดงเฉพาะการคำนวณ ตัวอย่าง Write(‘449/5 =‘,449/5); Write(’55+21-36 =‘,55+21-36); 3.2 แสดงร่วมกับข้อความ
6
คำสั่ง WriteLn ลักษณะการทำงานของคำสั่ง เหมือนกันกับคำสั่ง Write จะ แตกต่างกันที่คำสั่ง WriteLn แสดงผลข้อมูลในแต่ละคำสั่ง แล้วเคอร์เซอร์จะมาอยู่ที่บรรทัด ถัดมา ส่วน Write ตำแหน่งเคอร์เซอร์จะยังคง อยู่ที่หลักข้อความที่แสดงใน บรรทัดนั้นๆ
7
ตัวอย่าง Program WriteLn_Sample; Uses crt; Begin clrscr; clrscr; WriteLn(‘ Business Computer’); WriteLn(‘ Business Computer’); WriteLn(‘ Sriwattana’); End. หมายเหตุ คำสั่ง WriteLn ที่ไม่มี วงเล็บ () เป็นการสั่ง เคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัดใหม่เมื่อสั่งรัน โปรแกรม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.