ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
องค์ประกอบของโปรแกรม
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
2
องค์ประกอบของโปรแกรม
สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
3
องค์ประกอบของโปรแกรม
โครงสร้างของโปรแกรม การเขียนโปรแกรมภาษา C จะต้องเขียนด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กเสมอ และเมื่อจบประโยคำสั่งแต่ละคำสั่ง จะใช้เครื่องหมายเซมิโคลอน (;) ในการคั่นคำสั่งแต่ละคำสั่ง หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
4
องค์ประกอบของโปรแกรม
โครงสร้างของโปรแกรม หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
5
ความหมาย โครงสร้างของโปรแกรม
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
6
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
แบ่งออกได้ 3 ส่วน ดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Head File) 2. ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) 3. ส่วนฟังก์ชันย่อย (Sub Function) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
7
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนหัวโปรแกรม (Head File) หรือ คอมไพเลอร์ไดเร็กทีฟ (Compiler Directive) เป็นส่วนหัวของโปรแกรมที่ใช้สำหรับเป็นตัวบอกคอมไพเลอร์ ว่าให้รวมไฟล์ต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในส่วนนี้กับตัวโปรแกรมที่เขียนขึ้น หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
8
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนหัวโปรแกรม (Head File) #include<library> ให้อ่านไฟล์ stdio.h เข้ามาด้วย ให้อ่านไฟล์ conio.h เข้ามาด้วย หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
9
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) หรือโปรแกรมหลัก (Main Program) เป็นส่วนที่ผู้เขียนต้องเขียนขึ้นเอง โดยนำคำสั่งหรือฟังก์ชันมาตรฐานต่าง ๆ มาเรียบเรียงกันขึ้นเป็นโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
10
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
11
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
12
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) 1. ส่วนนำเข้าข้อมูล (Input) 2. ส่วนกำหนดค่า หรือ คำนวณ (Assignment or Computation) 3. ส่วนแสดงผลลัพธ์ (Output) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
13
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) การหมายเหตุ (Comment) ใช้เพื่อต้องการอธิบายรายละเอียดของโปรแกรม หรือคำสั่ง สามารถเขียนได้ดังนี้ /*ข้อความ*/ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
14
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนฟังก์ชันย่อย (Sub Function) หรือโปรแกรมย่อย (Sub Program) เป็นส่วนที่ผู้เขียนต้องเขียนขึ้นเอง โดยนำคำสั่งหรือฟังก์ชันมาตรฐานต่าง ๆ มาเรียงกัน เพื่อให้โปรแกรมหลักหรือฟังก์ชัน สามารถประมวลผลโดยส่งผ่านค่าพารามิเตอร์ หรือไม่ผ่านค่าพารามิเตอร์ก็ได้ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
15
ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนฟังก์ชันย่อย (Sub Function) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
16
องค์ประกอบของโปรแกรม
ตัวแปร (Variable) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
17
ตัวอย่าง การประกาศตัวแปร (Variable)
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
18
คำสงวน (reserved word)
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
19
คำสงวน (reserved word)
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
20
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
clrscr( ) printf( ) cprintf( ) scanf( ) getch( ) getchar( ) gets( ) textcolor( ) textbackground( ) gotoxy( ) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
21
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน clrscr( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
22
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน printf( ); แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ ออกจอภาพ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
23
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน printf( ); แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ ออกจอภาพ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
24
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน printf( ); แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ ออกจอภาพ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
25
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน printf( ); แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ ออกจอภาพ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
26
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน cprintf( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
27
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
รหัสรูปแบบ (format code) ที่ใช้ในการแสดงผล ต้องอยู่ ในตำแหน่งหลังเครื่องหมาย % หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
28
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน scanf( ); ใช้ในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
29
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน getch( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
30
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน getchar( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
31
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน gets( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
32
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน textcolor( ); ใช้ในการกำหนดสีตัวอักษร โดยจะใช้ร่วมกับฟังก์ชัน cprintf ซึ่งมีสีต่าง ๆ ให้เลือกตัวเลขค่าสี อาจจะพิมพ์เป็นตัวเลข หรือชื่อสีเป็นภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ก็ได้ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
33
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน textcolor( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
34
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน textcolor( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
35
องค์ประกอบของโปรแกรม
ตัวเลขค่าสีตัวอักษร หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
36
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน textbackground( ); ใช้กำหนดสีพื้นให้กับตัวอักษร หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
37
ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชัน gotoxy( ); ใช้ในการกำหนดตำแหน่งที่จะแสดงข้อความ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
38
องค์ประกอบของโปรแกรม
ชนิดของข้อมูล หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
39
รหัสควบคุม (Control code)
เริ่มต้นด้วยตัวอักษร back slash ( \ ) จากนั้นตามด้วยอักษรพิเศษ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
40
องค์ประกอบของโปรแกรม
จบหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.