ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
2
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
เอกสารอ้างอิง: “การใช้พลังงานกับเศรษฐกิจไทยในช่วงสองทศวรรษ” พรายพล คุ้มทรัพย์ 2548 2
3
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจไทยพึ่งพลังงานในอัตราเพิ่มขึ้น การใช้พลังงานเพิ่มปีละ 6% - 7% และความเข้มข้น (energy intensity หรือ ปริมาณพลังงานต่อ GDP) ก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 3
5
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
5
6
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
น้ำมันเป็นพลังงานสำคัญที่สุด กว่า 40% ของการใช้พลังงานทั้งหมด มูลค่านำเข้ากว่า 8 แสนล้านบาท กว่า 10% ของการนำเข้าทั้งหมด 6
7
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
ก๊าซธรรมชาติเป็นพลังงานสำคัญรองจากน้ำมัน เกือบ 30% ของการใช้พลังงานทั้งหมด ที่เหลือเป็นพลังงานหมุนเวียน (เช่น ชานอ้อย ฟืน) ลิกไนต์ และถ่านหิน (นำเข้า) 7
9
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
ไทยต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ นำเข้าน้ำมันกว่า 90% โดย 80% มาจากตะวันออกกลาง (สหรัฐอาหรับฯ ซาอุฯ โอมาน) นำเข้าก๊าซธรรมชาติ 30% จากพม่า โดยรวม ต้องนำเข้าถึง 2 ใน 3 ของพลังงานเชิงพาณิชย์ 9
10
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
ไทยต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ ยิ่งพึ่งพลังงานนำเข้ามาก ยิ่งได้รับผลกระทบมากจากราคาน้ำมัน อัตราการพึ่งพาพลังงานนำเข้า มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 10
11
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
อัตราการพึ่งพาพลังงานนำเข้า มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 11
12
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
2 สาขาใช้พลังงานมากที่สุด: ขนส่ง และอุตสาหกรรม ใช้รวมกันเกิน 70% ของทั้งหมด 12
13
กว่า 70% ของพลังงานถูกใช้ไปใน 2 สาขา คือ โรงงานอุตสาหกรรมและการขนส่ง โดยทั้ง 2 สาขายังมีแนวโน้มที่จะใช้พลังงานเพิ่มขึ้น
14
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
กว่าครึ่งหนึ่งของพลังงานที่ใช้ในการขนส่งอยู่ในรูปของน้ำมันดีเซล แต่ปริมาณการใช้ดีเซลลดต่ำตั้งแต่ปี 2541 อีก 25% เป็นเบนซิน ส่วนก๊าซธรรมชาติเริ่มใช้ในปี 2545 และคาดว่าจะสำคัญขึ้น 14
15
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
น้ำมัน: 60% ใช้ในการขนส่ง ก๊าซธรรมชาติ: ส่วนใหญ่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า 70% ของไฟฟ้า ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง 15
16
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
ถ่านหิน ลิกไนท์ ใช้ในการผลิตไฟฟ้า (แม่เมาะ) ถ่านหินนำเข้า ใช้ในอุตสาหกรรมและผลิตไฟฟ้า 16
17
พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
พลังงานหมุนเวียน พลังงานน้ำเพื่อผลิตไฟฟ้า วัสดุเกษตร เป็นเชื้อเพลิงในโรงหีบอ้อย โรงสีข้าว และผลิตไฟฟ้า ฟืน ถ่าน ใช้ในครัวเรือน อุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานมากที่สุดคือ อโลหะ (ซีเมนต์ เซรามิค) และอาหาร-เครื่องดื่ม [ ใช้รวมกันถึง 60% ของทั้งหมด] 17
18
การใช้พลังงานในอุตสาหกรรม ค่อนข้างกระจายประเภทเชื้อเพลิงระหว่างถ่านหิน พลังงานหมุนเวียน (ชานอ้อยและแกลบ) น้ำมัน และไฟฟ้า อุตสาหกรรมหันมาใช้ถ่านหินและก๊าซธรรมชาติมากขึ้นทดแทนน้ำมันและพลังงานหมุนเวียนที่มีสัดส่วนลดลง
19
“อาหารและเครื่องดื่ม” ใช้พลังงานมากที่สุด แต่มีสัดส่วนลดลง
“อโลหะ” ใช้พลังงานมากรองลงมา โดยมีการผลิตปูนซีเมนต์ คอนกรีต แก้ว กระจก เซรามิค อุตสาหกรรมที่เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานอย่างรวดเร็ว ได้แก่ เคมีภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์โลหะ “สิ่งทอ” มีสัดส่วนลดลงต่อเนื่อง
20
อุตสาหกรรมอโลหะมีความเข้มข้นในการใช้พลังงานสูงที่สุด
รองลงไปคือ โลหะขั้นมูลฐาน (เหล็กและเหล็กกล้า) ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นมาก โดยรวมความเข้มข้นมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย
21
พลังงานหมุนเวียนเป็นพลังงานหลักในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้น้ำมันมากที่สุด
22
ถ่านหินกลายเป็นพลังงานหลักของอุตสาหกรรมอโลหะ
มีแนวโน้มใช้ถ่านหินและก๊าซธรรมชาติมากขึ้นเพื่อทดแทนน้ำมัน เหตุผล : ถ่านหินและก๊าซธรรมชาติมีราคาต่ำลงเทียบกับน้ำมัน
23
พลังงานหลักในบ้านอยู่อาศัย คือ ก๊าซหุงต้มและไฟฟ้า แต่ครัวเรือนชนบทจะใช้ถ่านฟืนด้วย
ปริมาณการใช้เพิ่มโดยตลอด จนถึงปี หลังจากนั้นปริมาณลดลง และยังอยู่ต่ำกว่า peak (เป็นภาพของครัวเรือนทั้งในเมืองและชนบท)
24
ปริมาณการใช้น้ำมันเพิ่มขึ้นทุกปีจนถึงปี 2539 หลังจากนั้นก็ลดลงเพราะวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 – 44 ปีที่แล้วเพิ่มกลับมาใช้ในระดับเดียวกับปี 2539 กว่า 60% ใช้ในสาขาขนส่ง รองลงมาคือ โรงงานอุตสาหกรรมและเกษตร การใช้น้ำมันเพื่อผลิตไฟฟ้ามีปริมาณและสัดส่วนลดลงมาก (ทดแทนโดยก๊าซธรรมชาติ)
25
ไฟฟ้าเกือบทั้งหมดถูกใช้ใน 3 สาขา : โรงงาน ธุรกิจ (อาคารพาณิชย์-ราชการ) และบ้าน
45% ของไฟฟ้าถูกใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม 30% ของไฟฟ้าถูกใช้ในธุรกิจ และอีก 20% ใช้ในบ้านอาศัย ปริมาณการใช้ไฟฟ้าเพิ่มโดยตลอดยกเว้นในปี 2541 เท่านั้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.