งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้ในงานพัฒนาคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้ในงานพัฒนาคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้ในงานพัฒนาคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
จีรพรรณ เลิศวงศ์สกุล หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

2 โครงสร้างงานพัฒนาคุณภาพ
คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ทีมสนับสนุนที่มีศักยภาพ & บูรณาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ งานพัฒนาคุณภาพ (QD) ปี 2542 งานจัดการความรู้ (KM) ปี 2546 งานบริหารทรัพยากรสุขภาพ (UM) ปี 2545 R2R ปี 2545 งานพัฒนาคุณภาพ ฝ่ายการพยาบาล งานวิจัย ปี 2551 ฝ่ายการพยาบาล

3 กลยุทธ์สู่วิสัยทัศน์ร่วมกัน
คณะฯ/ภาควิชา /ฝ่าย /หน่วยงาน/บุคลากรทั้งคณะฯ พ.ศ. 2557 ระบบคุณภาพ Lab/ หน่วยงาน (ISO) สมป และทุก 2 ปี ระบบคุณภาพโรงพยาบาล (HA) (JCIA) 26 ก.ย. 2554 2nd HA 3rd HA สรพ. 1st HA 5th HA 10 ม.ค. 2545 6 มี.ค. 2551 4th HA 11 มิ.ย. 2547 มี.ค. 2557 กสพท ระบบการบริหารจัดการระดับคณะฯ (MUQD) (TQA) ม.ค. 2554 ม.ค. 2557 มหาวิทยาลัยฯ 2548 และทุก 1 ปี (MUQD/EdPEx) 2555 และทุก 1 ปี ระยะที่ 2 พัฒนากระบวน การดูแลผู้ป่วย ระยะที่ 3 พัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ระยะที่ 4 พัฒนาสู่องค์กรที่มีชีวิต & เรียนรู้ สู่นวัตกรรม ระยะที่ 1 พัฒนาระบบคุณภาพ ระยะที่ 5 พัฒนาสู่การสร้าง วัฒนธรรมความปลอดภัย วัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมการเรียนรู้ & ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน พัฒนาการของการพัฒนาคุณภาพศิริราช สู่สากล เป็นเลิศ อย่างยั่งยืน มุ่งเน้น TQA, Clinical tracer, RM, KM, Lean-R2R ในการขับเคลื่อน

4 Examples of Quality tools/
มุ่งเน้นการพัฒนาระบบ สร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรม ด้วย TQA Clinical Tracer, Concurrent trigger tool Siriraj KM strategy, Empowerment evaluation Lean R2R ระยะที่ 5 พัฒนาสู่การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย วัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรม การเรียนรู้ & ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน ( ) QD 1998 Standards HA Examples of Quality tools/ supporting unit 5ส QC, ESB ISO, Mahidol University QD (MUQD) 1999 2000 2001 2002 UR, data Mx TQA/Baldrige criteria/EdPEx 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 JCI Clinical Care Program Care team ปี 2011 Self assessment UM KM R2R Lean Empowerment evaluation Occurrence report, RCA 2012 2013 2014 2015 RM HFE CoP, AAR, Mx review, ST CQI (PDCA), Q. Doc. Syst. Siriraj KM strategy Concurrent trigger tool Clinical tracer

5 โครงสร้างงานพัฒนาคุณภาพ บริการวิชาการด้านการพัฒนาคุณภาพ
รองคณบดีฯ ผู้ช่วยคณบดีฯ หัวหน้างาน บริการวิชาการด้านการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานด้าน การบริการสุขภาพ มาตรฐานด้าน การบริหารจัดการ ระบบเอกสารคุณภาพ คณะฯ ฝึกอบรม / สัมมนา – ภายใน: บุคลากร ภายในคณะฯ - ภายนอก : HA Forum, อื่นๆ Quality conference Quality Fair ศึกษาดูงาน การเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ เช่น Website, Poster, ข่าวสารคุณภาพ, ประชาสัมพันธ์, อื่นๆ ห้องสมุด สรพ.: HA / JCIA สมป.: ISO โครงการติดดาว Internal Survey / Internal Audit KPI: รพ. ม.มหิดล : MUQD กสพท.: TQA ประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน KPI: คณะฯ บริหารจัดการสำนักงาน สารบรรณ, พัสดุ, HR, งบประมาณ, ระบบ IT, KPI สำนักงาน จัดหลักสูตรให้กับบุคลากร QD

6 บุคลากรงานพัฒนาคุณภาพ
หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพ นักวิชาการพัฒนาคุณภาพ จำนวน คน เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป จำนวน 11 คน คนงาน จำนวน คน รวม จำนวน 18 คน

7 พันธกิจ สนับสนุน ผลักดัน การดำเนินการด้านการพัฒนาคุณภาพของคณะฯ และทุกหน่วยงาน ให้มีความสอดคล้องในทิศทางเดียวกัน ทุกพันธกิจ เกิดนวัตกรรมในการทำงานประจำ มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง สู่ความยั่งยืน และบรรลุวิสัยทัศน์ของคณะฯ

8 ขอบข่าย ส่งเสริม ให้ความรู้ ทักษะและสนับสนุนการดำเนินการด้านการพัฒนาคุณภาพแก่บุคลากรของคณะฯ ทุกระดับ ทุกหน่วยงาน เพื่อสร้างเสริมให้หน่วยงาน ภาควิชา คณะกรรมการคร่อมสายงานมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และสร้างนวัตกรรมในการทำงาน 2. ติดตามประเมินผลด้านการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงานภาควิชา คณะกรรมการคร่อมสายงาน และ คณะฯ และการรองรับการรับรองคุณภาพจากหน่วยงานภายนอก 3. สร้างขวัญ กำลังใจ และเชิดชูเกียรติ ด้านการพัฒนาคุณภาพแก่บุคลากรของคณะฯ 4. ประสานงานด้านการพัฒนาคุณภาพ

9 ความรู้ที่จำเป็น องค์ความรู้ตามมาตรฐานต่างๆ ที่คณะฯ มุ่งเป้า
เครื่องมือการพัฒนาคุณภาพ โครงสร้างองค์กร ความรู้พื้นฐานของแต่ละหน่วยงาน ทักษะการเป็นที่ปรึกษา/ทักษะการประสานงาน ระบบการจัดเก็บข้อมูล

10 เทคนิคที่ใช้ในหน่วยงาน
On the job training สาธิต สังเกต การให้ทดลองฝึกปฎิบัติ 2. ระบบพี่เลี้ยง จับคู่ระหว่างพนักงานใหม่ และพนักงานเดิมเพื่อสอนงาน การทำระบบ senior ช่วยตรวจทานก่อนจะดำเนินการจริง

11 เทคนิคที่ใช้ในหน่วยงาน (ต่อ)
3. การจัดอบรมภายในหน่วยงาน การให้ความรู้เรื่องมาตรฐาน การถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมฟังการประชุม จากภายนอก การแลกเปลี่ยน เรียนรู้เทคนิคการทำงานที่ประสบ ความสำเร็จ การตรวจสอบความพร้อมการดำเนินการก่อนปฏิบัติงาน จริง และหลังการปฏิบัติงาน (BAR & AAR)

12 เทคนิคที่ใช้ในหน่วยงาน (ต่อ)
4. จัดทำ Server ภายในหน่วยงาน เป็นแหล่งเก็บความรู้ ข้อมูลการทำงาน Sharing ข้อมูลการทำงาน แก้ปัญหาการให้ข้อมูลจากการสอบถามจากบุคลากร ภายนอกหน่วยงาน 5. CoP ผู้เยี่ยมสำรวจภายใน เป็นแหล่งเก็บความรู้ด้านมาตรฐาน และเทคนิคการเยี่ยม สำรวจภายใน 6. การทบทวนผลการดำเนินในการประชุมสำนักงาน - เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อพิจารณา ทบทวนผลการดำเนินการ และโอกาสพัฒนาในการดำเนินการต่างๆ

13 ขอบข่าย ส่งเสริม ให้ความรู้และทักษะในด้านการพัฒนาคุณภาพแก่บุคลากรของคณะฯ ทุกระดับ ทุกหน่วยงาน เพื่อสร้างเสริมให้หน่วยงาน ภาควิชา คณะกรรมการคร่อมสายงานมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และสร้างนวัตกรรมในการทำงาน 1.1 ให้ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ website งานพัฒนาคุณภาพ การผลิตข่าวสารคุณภาพ ให้บริการห้องสมุด จดหมาย โปสเตอร์ 1.2 การจัดประชุม/เวทีเสวนา/ฝึกอบรม/สัมมนา เช่น Quality Fair, Quality Conference 1.3 สนับสนุน/ช่วยเหลือ กระตุ้นให้มีการจัดทำและขึ้น ทะเบียนเอกสารคุณภาพ

14 ผลการดำเนินงาน 1.1 ข่าวสารคุณภาพ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2543
เผยแพร่ความรู้ ข่าวสารประชาสัมพันธ์ สื่อสารนโยบายและกิจกรรมด้าน QD, KM, UM และ R2R ให้กับบุคลากรทั้งภายใน & ภายนอกคณะฯ ผลิตรายเดือน 2,500 ฉบับ/เดือน ปีที่ 12 จัดทำร่วมกับงานประชาสัมพันธ์ คณะฯ ปี 2555

15 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ความพึงพอใจ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
4 3.6 3.5 เนื่องจากหน่วยงานต่างๆ ภายในคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมีการจัดทำวารสารของหน่วยงานที่หลากหลาย ในปี 2555 คณะฯ จึงมีนโยบายรวมวารสารของทุกหน่วยงานโดยเพิ่มเติมลงในวารสารศิริราชประชาสัมพันธ์

16 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 1.2 Website งานพัฒนาคุณภาพ
- เพื่อเพิ่มช่องทางในการสื่อสารให้ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพ - เริ่มดำเนินการปี 2551

17 1.3 การจัดประชุมวิชาการ (Quality Conference)
ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 1.3 การจัดประชุมวิชาการ (Quality Conference) - เป็นการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ข้อมูลด้านการพัฒนาคุณภาพที่ สอดคล้องกับจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพของคณะฯ รวมทั้งทิศทาง การพัฒนาคุณภาพของสังคมภายนอก และแบบอย่างที่ดีในการ พัฒนางาน - เริ่มดำเนินการ ปี 2543 ปี จำนวนครั้ง (เป้าหมาย 8 ครั้ง) 2552 8 2553 10 2554 2555

18 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 1.4 การจัดประชุมวิชาการทางห้องปฏิบัติการ ปี
จำนวนครั้ง 2552 6 2553 5 2554 2555 4 1.4 การจัดประชุมวิชาการทางห้องปฏิบัติการ

19 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 1.5 การจัดงานมหกรรมคุณภาพ (Quality Fair)
- เริ่มดำเนินการ ปี จัดปีละ 1 ครั้ง ใช้เวลาเตรียมงาน 4 เดือน - สื่อสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานด้านการพัฒนาคุณภาพทั้งจากภายในและ ภายนอกคณะฯ ให้เห็นทิศทางการก้าวไปข้างหน้าของคณะฯ - ปี 2553 มีข้อจำกัดในด้านเวลาและสถานที่ เนื่องจากสถานการณ์บ้านเมือง

20 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ดัชนีความพึงพอใจของการจัดงานมหกรรมคุณภาพ (Quality Fair) - ปี ปรับเป้าหมายจาก 4 เป็น 4.2

21 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 1.6 ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำและขึ้นทะเบียนเอกสารคุณภาพ เริ่มดำเนินการ ปี 2543 เพื่อให้มีการจัดทำเอกสารคุณภาพที่สามารถใช้งานง่าย สื่อสารให้ผู้ปฏิบัติทราบ มีการทบทวนทุก 1 และ 3 ปี เพื่อให้เป็นปัจจุบัน ศูนย์เอกสารคุณภาพของคณะฯ มีหน้าที่กระตุ้น ผลักดัน ส่งเสริม รับขึ้นทะเบียนเอกสารคุณภาพ ปี 2544 ดำเนินการใช้ระบบ IT เป็นคลังข้อมูลในการจัดเก็บ และเผยแพร่เอกสารคุณภาพในระบบ Lotus Notes เพื่อให้สามารถเปิดดูและขึ้นทะเบียนเอกสารคุณภาพทางระบบ Lotus Note ได้ ปี พ.ศ.2551 ได้มีการปรับรูปแบบเอกสารคุณภาพเพื่อรองรับทุกมาตรฐาน ปี พ.ศ.2553 พัฒนาระบบสารสนเทศร่วมกับฝ่ายสารสนเทศให้เป็น Document online ที่สามารถขึ้นทะเบียน และแจกจ่ายเอกสารผ่านระบบ IT เพื่อลดขั้นตอนการทำงาน และลดการใช้ทรัพยากร และImplement เมษายน 2556 มีส่วนร่วมในการทำให้คณะฯ ได้รับรางวัลจาก Thailand ICT Excellence Awards 2009 ด้าน Project of the Year สาขา Knowledge Management ในผลงานด้านการใช้สารสนเทศในระบบเอกสารคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

22 ขอบข่าย 2. ติดตามประเมินผลด้านการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงานภาควิชา คณะกรรมการคร่อมสายงาน และ คณะฯ 2.1 ระบบการเยี่ยมสำรวจภายใน (Internal Survey) การตรวจ ติดตามภายในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ (Internal Audit) และ การเยี่ยมสำรวจตามระบบประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน 2.2 จัดให้มีการนำเสนอความก้าวหน้าด้านการพัฒนาคุณภาพ ของหน่วยงานในที่ประชุมต่างๆ

23 ขอบข่าย (ต่อ) 2.1.1 การเยี่ยมสำรวจภายใน : ปีละ 1 ครั้ง เริ่มดำเนินการ ปี 2544 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อติดตาม กระตุ้น ให้กำลังใจ 2. เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หน่วยงานในการพัฒนาคุณภาพ โดยมีการประเมินตนเองและติดตามประเมินผลการดำเนินการ ของหน่วยงานเพื่อค้นหาโอกาสพัฒนาอย่างเหมาะสม 3. เป็นการพัฒนาบุคลากรให้สามารถประเมินผลการพัฒนางานเชิง ระบบ และรองรับการเป็นผู้เยี่ยมสำรวจของคณะฯ ซึ่งถือว่าเป็น กลไกสำคัญอย่างหนึ่งในการทำให้คณะฯ สามารถผ่านการ รับรองคุณภาพจากองค์กรภายนอก

24 ผลการดำเนินงาน 2.1.1 การเยี่ยมสำรวจภายใน
- ดัชนีความพึงพอใจของผู้เยี่ยมสำรวจภายใน จากการติดตามดัชนีความพึงพอใจของผู้เยี่ยมสำรวจภายในพบว่าสามารถปฏิบัติได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ 4 ดังนั้น ในปี 2551 จึงได้ปรับเป้าหมายเป็น 4.2 ปี 2551 ขยายการเยี่ยมสำรวจภายในครอบคลุมทุกหน่วยงาน ในปี 2554 ไม่มีการดำเนินการ เนื่องจากคณะฯ รับการเยี่ยมสำรวจเพื่อต่ออายุการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ครั้งที่ 3

25 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ดัชนีความพึงพอใจของคณะกรรมการ/ภาควิชา/หน่วยงานที่
ได้รับการเยี่ยมสำรวจ จากการติดตามดัชนีความพึงพอใจของผู้เยี่ยมสำรวจภายในพบว่าสามารถปฏิบัติได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ 4 ดังนั้น ในปี 2551 จึงได้ปรับเป้าหมายเป็น 4.2

26 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 2.1.2 การเยี่ยมสำรวจตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เริ่มดำเนินการในปีการศึกษา 2553 - ดัชนีความพึงพอใจของผู้เยี่ยมสำรวจภายใน ปีการศึกษา 2555 กำลังดำเนินการ ซึ่งจะมีการเยี่ยมสำรวจตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระหว่างวันที่ 28 ตุลาคม - 8 พฤศจิกายน 2556

27 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ดัชนีความพึงพอใจของภาควิชา สถาน ศูนย์ โรงเรียน
หน่วยงานการศึกษาที่ได้รับการเยี่ยมสำรวจ

28 ขอบข่าย 3. สร้างขวัญ กำลังใจ และเชิดชูเกียรติด้านการพัฒนาคุณภาพแก่บุคลากรของคณะฯ 3.1 โครงการติดดาว 3.2 มอบรางวัลบุคคลคุณภาพประจำปี (Quality Person of the Year) 3.3 สนับสนุนให้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก

29 ผลการดำเนินงาน 3.1 โครงการติดดาว วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างขวัญ กำลังใจ และ ยกย่องทีม / ผู้ดำเนินการพัฒนาคุณภาพ ที่มีผลงานดีเด่น พ.ศ. 2546 เริ่มดำเนินการ รางวัลมี 2 ประเภท คือ รางวัลหน่วยงานดีเด่น และ รางวัลโครงการดีเด่น ผู้เยี่ยมสำรวจภายในเป็นผู้คัดเลือกและ เสนอชื่อเพื่อรับรางวัล พ.ศ. 2548 เปลี่ยนชื่อรางวัลโครงการดีเด่น นวัตกรรมดีเด่น พ.ศ. 2549 ปรับรูปแบบการเสนอรายชื่อ และเกณฑ์การให้คะแนน

30 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) พ.ศ. 2550 ทบทวน ปรับเกณฑ์การให้คะแนน
หน่วยงานประเมินตนเอง แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินรางวัลฯ เพิ่มรางวัล 1 ประเภท คือ รางวัลหน่วยงานดีเด่นประเภทดาวทอง จัดทำหนังสือ/เผยแพร่นวัตกรรมที่ได้รับรางวัลโครงการติดดาว ประจำปี 2549 พ.ศ. 2551 ปรับเกณฑ์ และการตัดสินรางวัล เพิ่มรางวัลอีก 1 ประเภท คือ รางวัลนวัตกรรมดีเด่นด้านการบริหารทรัพยากรสุขภาพ พัฒนาระบบ IT เพื่อเสนอผลงานเข้าร่วมโครงการฯ

31 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) พ.ศ. 2552 ปรับเกณฑ์
นวัตกรรมดีเด่นด้านการบริหารทรัพยากรสุขภาพ นวัตกรรมและการบริหารทรัพยากรดีเด่น แยกประเภทนวัตกรรมเป็น ประเภทหน่วยงาน และประเภททีมสหสาขาวิชาชีพ พ.ศ. 2553 ปรับเกณฑ์รางวัลนวัตกรรมดีเด่นด้านการบริหารทรัพยากรสุขภาพด้วยการนำแนวคิด Lean มาประยุกต์ใช้ เพื่อลดความสูญเปล่า ซ้ำซ้อน และค่าใช้จ่าย พ.ศ. 2554 ปรับชื่อรางวัลจากนวัตกรรมดีเด่นด้านการบริหารทรัพยากรสุขภาพเป็นนวัตกรรมดีเด่นด้านการบริหารทรัพยากร เพิ่มรางวัลอีก 2 ประเภท คือ หน่วยงานดีเด่นแพลตินั่ม และรางวัลนวัตกรรมดีเด่นด้านแนวคิด Lean

32 ที่เสนอเข้ารับรางวัล และร้อยละที่ได้รับรางวัล
โครงการติดดาว จำนวนหน่วยงาน ที่เสนอเข้ารับรางวัล และร้อยละที่ได้รับรางวัล เปรียบเทียบปี จำนวนนวัตกรรม ที่เสนอเข้ารับรางวัล และร้อยละที่ได้รับรางวัล เปรียบเทียบปี

33 ภาพรวมรางวัลประเภทหน่วยงาน
จำนวนหน่วยงาน ที่เสนอเข้ารับรางวัล และร้อยละที่ได้รับรางวัล เปรียบเทียบปี หน่วยงานดีเด่น ปี 2552, ได้รางวัลหน่วยงานดีเด่น มากกว่าที่ขอรับรางวัล เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์รางวัลหน่วยงานดีเด่นดาวทอง ปี ได้รางวัลหน่วยงานดีเด่น และหน่วยงานดีเด่นดาวทอง มากกว่าที่ขอรับรางวัล เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์รางวัลหน่วยงานดีเด่นดาวทอง และหน่วยงานดีเด่นแพลตินั่ม หน่วยงานดีเด่นดาวทอง หน่วยงานดีเด่นแพลตินั่ม ไม่มีหน่วยงานใดผ่านเกณฑ์พิจารณาตัดสินรางวัล

34 ร้อยละของหน่วยงานที่เสนอรับรางวัลประเภทหน่วยงานดีเด่นทุกประเภท
เปรียบเทียบกับหน่วยงานทั้งหมดทั้งภาพรวมและแยกตามกลุ่ม จำนวนหน่วยงานตามโครงสร้างคณะฯ กลุ่มหน่วยงาน BKO CLT Lab Total โครงการติดดาว ปี 48 189 12 249 โครงการติดดาว ปี 2554 56 190 258

35 ร้อยละของหน่วยงานที่ได้รับรางวัลหน่วยงานดีเด่นทุกประเภท
เปรียบเทียบกับหน่วยงานที่เสนอรับรางวัลทั้งภาพรวมและแยกตามกลุ่ม

36 นวัตกรรมดีเด่นด้านการบริหารทรัพยากร (UM) นวัตกรรมดีเด่นด้านแนวคิด Lean
ภาพรวมรางวัลประเภทนวัตกรรม นวัตกรรมดีเด่น นวัตกรรมดีเด่นด้านการบริหารทรัพยากร (UM) นวัตกรรมดีเด่นด้านแนวคิด Lean

37 ผลประเมินโครงการติดดาว
ประเด็น 2552 2553 2554 2555 คณะกรรมการพิจารณาตัดสินรางวัลฯ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม/กรรมการ (%) 33/61 (54.1) 32/74 (43.2) 23/81 (28.4) 32/72 (44.4) ประโยชน์ที่หน่วยงาน ได้รับ Mean+SD ประโยชน์ที่คณะฯ ได้รับ หน่วยงาน/เจ้าของนวัตกรรม จำนวนหน่วยงานตอบแบบสอบถาม/ ผลงานที่ขอ (%) 334/638 (52.4) 371/501 (74.1) 331/568 (58.3) 326/450 (72.4) ประโยชน์ที่หน่วยงานได้รับ

38 เผยแพร่ให้หน่วยงานภายนอก (เล่ม)
การแลกเปลี่ยนความรู้ จัดทำหนังสือนวัตกรรมดีเด่นประจำปี 2549 จำนวน 2,000 เล่ม และ ปี จำนวน 1,500 เล่ม ปี พ.ศ. เผยแพร่ให้หน่วยงานภายนอก (เล่ม) 2549 777 2551 862 2552 846 2553 867 2554

39 ผลการดำเนินการ 3.2 มอบรางวัลบุคคลคุณภาพประจำปี (Quality Person of the Year) เริ่มดำเนินการ ปี 2546 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมอบรางวัลบุคคลคุณภาพประจำปี 2554 (Quality Person of the Year 2011) ได้แก่ รองศาสตราจารย์นายแพทย์ประดิษฐ์ สมประกิจ รองคณบดีฝ่ายการคลัง

40 ผลการดำเนินการ 3.3 สนับสนุน ให้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก
ประเภท หมวด ชื่อผลงาน หน่วยงาน รางวัล ดีเด่น E “การดูแลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ severe sepsis/septic shock” รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ชมเชย S “Siriraj Surgical Safety Checklists: Optimal Caring” งานการพยาบาลผ่าตัด I “Siriraj Model: Prevention and Control of Muti-drug Resistant Bateria in Resource-Limited Setting” งานโรคติดเชื้อ P “ผลของการพยาบาลตามแนวปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับของศิริราช” หน่วยออสโตมีและแผล ได้รับรางวัล Patient Safety Goals Award ซึ่งถือเป็น good/best practice ในแต่ละหัวข้อของ SIMPLE และรางวัล Diabetes Patient Care Team Award ในงานประชุมวิชาการประจำปี HA National forum ครั้งที่ 14 เรื่อง “องค์กรที่น่าไว้วางใจ (High Reliability Organization) ที่จัดโดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) วันที่ 12 – 15 มีนาคม 2556 ณ IMPACT Convention Center เมืองทองธานี

41 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ได้รับรางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชนและรางวัลมาตรฐานศูนย์บริการร่วม/เคาน์เตอร์บริการประชาชน และรางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมประจำปี จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) จำนวน 8 รางวัล

42 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ประจำปี 2553 จำนวน 2 รางวัล
รางวัลดีเด่นรายกระบวนงาน กระบวนงานการรับผู้ป่วยเข้ารับยาเคมีบำบัด ของโรงพยาบาลศิริราช รางวัลชมเชยรายกระบวนงาน กระบวนงานการรับสิ่งส่งตรวจ ณ ตึกอัษฎางค์ ของโรงพยาบาลศิริราช

43 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ประจำปี 2554 จำนวน 3 รางวัล รางวัลดีเด่น
ประเภทรางวัลนวัตกรรมการให้บริการ รางวัลดีเด่น ประเภทรางวัลนวัตกรรมการให้บริการ สรรค์สร้างนวัตกรรมจากงานประจำสู่การบริการที่เป็นเลิศอย่างยั่งยืนคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล การป้องกัน ดูแล แก้ไขปัญหา เด็กติดเกมแบบครบวงจร ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต รางวัลชมเชย นวัตกรรมการให้บริการ โครงการบ้านหลังที่สอง...เลขที่ 11

44 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ประจำปี 2555 จำนวน 3 รางวัล ได้แก่ รางวัลดีเด่น
ประเภทรางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ ชุดตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างสำเร็จรูป FilariaDIAG ของภาควิชาปรสิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล รางวัลดีเด่น ประเภทนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลดีเด่น ประเภทนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ โครงการพัฒนารูปแบบการเปิดเผยสภาวะการติดเชื้อเอชไอวี แก่เด็กที่ติดเชื้อมาแต่กำเนิดโดยการดูแลแบบสหสาขาวิชาชีพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล หุ่นฝึกฝนการผ่าตัดทารกในครรภ์ผ่านกล้องศิริราช คณะแพทยศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

45 ขอบข่าย 4. ประสานงานด้านการพัฒนาคุณภาพ 4.1 การรับศึกษาดูงาน
4.2 ประสานงานการพัฒนาคุณภาพระดับโรงพยาบาล

46 ผลการดำเนินงาน 4.1 การรับศึกษาดูงาน
ปี จัดทำ Flow และจัดทำเป็นเอกสารคุณภาพ ปี จัดทำค่าธรรมเนียมการดูงานภาครัฐ เอกชน (ประกาศวันที่ 1 กันยายน 2552) ปี ร่วมกับฝ่ายการคลังในการจัดระบบ Internal Order (IO) สำหรับการศึกษาดูงาน เพื่อ รวบรวมข้อมูลด้านการรับศึกษาดูงานจากสถาบันภายนอก

47 ผลการดำเนินงาน 4.2 ประสานงานการพัฒนาคุณภาพระดับโรงพยาบาล
คณะกรรมการพัฒนาการดูแลผู้ป่วย severe sepsis ผลลัพธ์การดำเนินการ : แนวทางการดูแลผู้ป่วยผู้ใหญ่ ที่มีภาวะ Severe Sepsis คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ที่เป็นสหสาขา และ Implement ทั่วทั้งโรงพยาบาล ทำให้ลด Mortality rate จาก 56% เหลือ 41.5% และได้รับรางวัล Patient Safety Goals Award ซึ่งถือเป็น good/best practice ในแต่ละหัวข้อของ SIMPLE จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ปี 2556

48 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 4.2 ประสานงานการพัฒนาคุณภาพระดับโรงพยาบาล
2. คณะทำงานปรึกษาแนวทางการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง/ภาวะวิกฤติ ผลลัพธ์การดำเนินการ : ระบบการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤติของโรงพยาบาลศิริราช เพื่อการตรวจวินิจฉัย/รักษา หรือรับไว้ในหอผู้ป่วย

49 ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 4.2 ประสานงานการพัฒนาคุณภาพระดับโรงพยาบาล
3. คณะทำงานเรื่อง Concurrent Trigger Tool ในโรงพยาบาลศิริราช การบริหารยา Heparin, Warfarin และ Insulin Modified Early Warning Sign (MEWS) of Increase Intracranial Pressure MEWS of Active bleeding post cardiac surgery MEWS of Acute Arterial occlusion (post operation/revascularization)

50 รางวัลและความภาคภูมิใจ
มีส่วนร่วมในการทำให้คณะฯ ได้รับรางวัลจาก Thailand ICT Excellence Awards 2009 ด้าน Project of the Year สาขา Knowledge Management ในผลงานด้านการใช้สารสนเทศในระบบเอกสารคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล

51 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้ในงานพัฒนาคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google