งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Role of Dopamine in . . . กลุ่ม 2.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Role of Dopamine in . . . กลุ่ม 2."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Role of Dopamine in . . . กลุ่ม 2

2 Role of Dopamine in Schizophrenia
กลุ่มที่ 2 Role of Dopamine in Schizophrenia นางสาวอภิพร เดชเพิ่มสุข นายฐิติวิชญ์ ช้างเทศ นางสาวจิดาภา อัญญะโพธิ์ นางสาวชิตสุดา อุ่นประเสริฐ นาวสาวชุลียา พรหมบุตร นางสาวฐิตา อิทธิรัตน์ชัย นายธีร์ดนัย วงศ์สุริย์ฉาย นายพงศ์วุฒิ บุตรสันเทียะ นายวัชรพงค์ ม่วงสวนขวัญ นางสาววัลย์วิณี อาจวิชัย

3 อาการของโรค Schizophrenia
Positive symptoms Hallucination Delusion Disorganized speech Disorganized behavior Negative symptoms Alogia Affective flattening Avolition Asociality

4 อาการที่พบในสุนัข Extreme fear Very aggressive Separation Anxiety
Positive-like symptoms Extreme fear Very aggressive Negative-like symptoms Separation Anxiety Sleeping too much and too long “ Rapid change in personality ”

5 อาการที่พบในสุนัข ที่มา :

6 สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคSchizophrenia
สาเหตุด้านพยาธิสรีรวิทยา (Pathophysiology) สมมติฐานโดปามีน (Dopamine) สมมติฐานเซโรโทนิน (Serotonin) สมมติฐานกลูตาเมต (Glutamate) สมมติฐานกาบา (GABA) สมมติฐานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารสื่อประสาท

7 สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคSchizophrenia
สาเหตุด้านประสาทพยาธิวิทยา (Neuropathology) จากการชันสูตรสมองของผู้ป่วย พบว่า ปริมาตรของสมอง (Brain volume) ลดลงแบบสมมาตร ความหนาแน่นของ neuron, axon และ dendrite ลดลง สาเหตุเกิดจาก Neuronal degeneration มากกว่าปกติ

8 สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคSchizophrenia
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง จากข้อมูลทางสถิติของความเสี่ยงในการเกิดโรคในคน พันธุกรรม สภาพแวดล้อม เพศและอายุ การใช้สารต่างๆ

9 สมมติฐานโดปามีน

10 Dopamine Locomotion activity Cognition Emotion Positive reinforcement
เป็นสารสื่อประสาทที่ทำหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับ Locomotion activity Cognition Emotion Positive reinforcement

11 Dopamine synthesis & degradation
ที่มา:

12 เป็นตัวรับชนิด G-protein couple receptor
Dopamine receptor เป็นตัวรับชนิด G-protein couple receptor

13 Dopamine receptor D1 – like family
ที่มา: ประกอบด้วย D1, D5 receptor พบได้บน postsynaptic neuron ทำหน้าที่ให้เกิดการหลั่ง DA

14 Dopamine receptor D2 – like family
ที่มา: ประกอบด้วย D2, D3, D4 receptor พบได้บน presynaptic neurons ทำหน้าที่เป็น autoreceptor และพบได้บน postsynaptic neuron ทำหน้าที่กระตุ้นการเกิดการหลั่ง DA

15

16 Dopaminergic pathway Mesolimbic pathway Mesocortical pathway
ที่มา: Mesolimbic pathway Mesocortical pathway Nigrostriatal pathway Tuberoinfundibular pathway

17 Brain reward pathway การกระทำ ได้รับบทลงโทษ ได้รับรางวัล ก้าวร้าว/กลัว
พึงพอใจ

18 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/การตอบสนอง ให้สอดคล้องกับสถานการณ์มากขึ้น
Mesolimbic pathway PFC NAc VTA A มีโซลิม ประกอบด้วยการรับ Sensory signal จากสมองส่วนต่างๆ เข้าสู่ VTA จากนั้น สมองส่วนนี้จะแปรผลให้รู้ว่าสิ่งเร้าที่ได้รับมาเป็นรางวัลหรือบทลงโทษ ซึ่งจะสื่อสารโดยโดปามีนไปยังนิวเคลียสแอคคอมเบน ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการสั่งการ motor system เพื่อให้เกิดการแสดงออกความพึงพอใจหรือความก้าวร้าว,กลัว และVTA ยังสื่อสารไปยัง Amygdala เพื่อใหเกิดการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข สัตว์จึงสามารถจำวิธีที่ทำให้ได้รับรางวัลได้ นอกจากนั้นยังสื่อสารต่อไปยัง Limbic system เช่น ฮอปโปแคมปัส ซึ่งเกี่ยวข้องกับการควบคุมอารมณ์ ทำให้สัตว์พึงพอใจในรางวัล หรือ ไม่พอใจต่อบทลงโทษ และสามารถประเมินคุณค่าของรางวัลได้ นอกจากนั้น VTA ยังสื่อสารไปยัง คอรเทกซด้วย โดยแบ่งสามส่วน ได้แก่ MPC สมองส่วนนี้จะควบคุมการแสดงออกของอารมณ์และพฤติกรรม ACC สมองส่วนนี้ทำหน้าที่แก้ไขและปรับการตอบสนองให้สอดคล้องต่อการได้รับรางวัลมากยิ่งขึ้น ในกรณีที่การกระทำเดิมๆ ไม่ทำให้ได้รางวัล และเกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการกระทำด้วย สุดท้ายคือ OFC สมองส่วนนี้ทำให้สัตว์เกิดความคาดหวังในตัวของรางวัลที่สัตว์คิดว่าจะได้ เปรียบเทียบกับรางวัลที่จะได้รับจริงๆ ทำให้เกิดการปรับตัวตามสถานการณ์ได้ ซึ่งหากส่วนใดว่วนหนึ่งหรือทั้งหมดที่กล่าวมานี้ เกิดความผิดพลาดจากการเพิ่มขึ้นของสารสื่อประสาทโดปามีนจะทำให้เกิดอาการในพอสสิทีฟสินท่อมได้ เช่น การทำท่าทางแปลกๆอย่างไม่มีจุดประสงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/การตอบสนอง ให้สอดคล้องกับสถานการณ์มากขึ้น Rewarding effect แสดงความพึงพอใจ แสดงความกลัว/ก้าวร้าว Limbic system อารมณ์ การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข ทำให้สัตว์รู้ว่าสิ่งเร้า คือ รางวัล หรือบทลงโทษ การเพิ่มขึ้นของระดับโดปามีนใน Mesolimbic pathway “ Positive symptoms ”

19 การลดลงของระดับโดปามีนใน Mesocortical pathway
PFC VTA Working memory Social cognition การลดลงของระดับโดปามีนใน Mesocortical pathway Decision making “ Negative symptoms ”

20 Tuberoinfundibular pathway
Basal ganglia SN Nigrostriatal pathway ควบคุมการเคลื่อนไหว Pituitary gland H Tuberoinfundibular pathway ควบคุมการหลั่ง Prolactin

21 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ระดับโดปามีน
Amphetamine Nitric oxide ปัจจัยจากสารสื่อประสาท Serotonin GABA Glutamate

22 Amphetamine 2. ขัดขวางการเก็บ DA ใน DA vesicles ภายในเซลล์
3. ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ MAO ในการทำลาย DA 1. ขัดขวางการทำงานของ DAT ในการดูดกลับ DA

23 1. กระตุ้นการสร้าง cGMP เพื่อเปิด Ca2+ channel เกิดการหลั่ง DA
Nitric oxide 3. ปฏิกิริยา NO-mediated oxidation ทำให้เกิดการทำลาย DA ที่ synaptic cleft 1. กระตุ้นการสร้าง cGMP เพื่อเปิด Ca2+ channel เกิดการหลั่ง DA 2. ยับยั้งการทำงานของ DAT ในการดูดกลับ DA

24 GABA VTA PFC NAc Dopamine GABA GABAergic neuron Dopaminergic neuron DR
GABA R. NAc DR Dopamine GABA GABAergic neuron Dopaminergic neuron

25 Glutamate Cortex VTA NAc Mesolimbic PW. Glutamate GABA
GABA R. DR NMDA R. Mesolimbic PW. Glutamate GABA GABAergic neuron Dopaminergic neuron Dopamine Glutamatergic neuron

26 Glutamate Cortex VTA PFC Mesocortical PW. Dopamine Dopaminergic neuron
DR NMDA R. Mesocortical PW. Dopamine Dopaminergic neuron Glutamate Glutamatergic neuron

27 Serotonin (5-HT) Receptor สัมพันธ์ต่อการทำงานของ Dopamine ได้แก่
กระตุ้นการหลั่ง DA : 5HT1A , 5HT3 ยับยั้งการหลั่ง DA : 5HT2A , 5HT2C ควบคุมระดับ DA ให้ปกติ : 5HT1B , 5HT1D ควบคุมการทำงานใน Mesolimbic pathway และ Nigrostriatal pathway Receptor จะแบ่งจากโครงสร้าง การทำงาน

28 ควมคุมระดับ DAให้ปกติ
Raphe nuclei PFC VTA Limbic DR 2A 2D Raphe nuclei PFC VTA Limbic DR 2c 3 Raphe nuclei PFC VTA Limbic DR 1B 1D ยับยั้งการหลั่ง DA กระตุ้นการหลั่ง DA ควมคุมระดับ DAให้ปกติ Dopamine Serotonin Dopaminergic neuron Serotoninergic neuron

29 สรุป Dopamine Dopamine Mesolimbic pathway GABA Increased DA level
Glutamate Dopamine Dopamine Serotonin NO Decreased DA level Amphetamine Mesocortical pathway

30 การวินิจฉัย(Diagnosis)
1. การวินิจฉัยในสัตว์อาศัยการสังเกตพฤติกรรม 2. การตรวจโดย Positron emission tomography scan (PET scan)

31 การรักษา ยาต้านอาการโรคจิต (Antipsychotic drug) แบ่งเป็น
กลุ่มเก่า (Typical) กลุ่มใหม่ (Atypical) ยับยั้งการทำงาน D2 receptor Haloperidol, Fluphenazine Extrapyramidal syndromes จากผลของยาใน Nigrostriatal pathway และ Tuberoinfundibular pathway และ5-HT2 receptor Clozapine, Risperidone เกิดผลข้างเคียงน้อย

32 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt Role of Dopamine in . . . กลุ่ม 2.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google