งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 นำไปสู่การปฏิบัติ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555 โดย กลุ่มยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล สำนักบริหารยุทธศาสตร์ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

2 กรอบการนำเสนอ ● ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์
● ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ ● การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผน ปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน ● การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงาน ● การรายงานผลการปฏิบัติงาน

3 การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน
ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง 20 2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง 10 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจด้านส่งเสริมอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ตัวชี้วัดตามภารกิจของ สมอ.

4 การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน
ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจด้านส่งเสริมอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ 10 1.การเสริมสร้างขีดความ สามารถในการแข่งขันของธุรกิจอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างขีดความสามารถให้แข่งขันได้ในระดับสากล ธุรกิจอุตสาหกรรมในกลุ่มสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมายได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก 3.1 ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น 5 - 15 2. การพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมให้ยั่งยืน 1. อุตสาหกรรมชุมชนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานและสามารถดำเนินอย่างยั่งยืน 3.2 ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) เทียบกับจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับการตรวจ 96.08 98.08

5 การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน
ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ / ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของ สมอ. 20 1 พัฒนามาตรฐานที่สามารถตอบสนองความต้องการของทุกภาคส่วนและได้รับการยอมรับ 1.1 มาตรฐานที่กำหนดสอดคล้องและทันกับความต้องการ 1.2 มาตรฐานมีความทันสมัย 1.3 กระบวนการกำหนดมาตรฐานมีความรวดเร็ว 4.1 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท 10 67.60 78

6 การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน
ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ / ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของ สมอ. 20 2 พัฒนาระบบการตรวจสอบและรับรองให้สอดคล้องกับแนวทางสากล 2.1 ผลการตรวจสอบและรับรองได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและลดความซ้ำซ้อน 2.2 ผู้บริโภคได้รับความเป็นธรรมและมีความปลอดภัย 4.2 จำนวนระบบงานที่ขยายขอบข่ายการรับรองเพิ่มขึ้น 5 - 3 ระบบ

7 การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน
ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ / ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของ สมอ. 20 3 สร้างความตระหนักในความสำคัญของการมาตรฐานแก่ภาครัฐ ธุรกิจ และสังคม 3.1 ทุกภาคส่วนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดำเนินงานด้านการมาตรฐานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ 4.3 จำนวนมาตรฐานที่มีผู้ยื่นคำขอ 5 660 666

8 รายละเอียดตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนน

9 ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ
3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น (ร้อยละ 4) (เป็นตัวชี้วัดร่วมกับ กสอ.) คำอธิบาย : สมอ. วัดผลสำเร็จจากร้อยละของสถานประกอบการที่ได้รับการพัฒนายกระดับ การผลิตและการจัดการตามมาตรฐานสากล และผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนแล้วสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมที่ประกอบการอยู่ ให้มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น คำนิยาม : ผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น พิจารณาจากดัชนีชี้วัดต่างๆ ตัวใดตัวหนึ่ง ดังนี้ 1. มีการลดการสูญเสียต่อหน่วยลงได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 2. มีการลดต้นทุนการผลิตต่อหน่วยลงได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 6 3. มีมูลค่ายอดขายเพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 9 โดยเป็นผลโดยตรงจากการที่ผู้ประกอบการมารับบริการหรือเข้าร่วมกิจกรรมฯ

10 ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ
3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น (ร้อยละ 4) สูตรการคำนวณ ผลรวมของจำนวนสถานประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรมที่ได้รับการพัฒนาของทั้ง 2 กรมที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น x 100 ผลรวมของจำนวนสถานประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาของทั้ง 2 กรม เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 3.1 ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น 5 7.5 10 12.5 15

11 ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ
3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชุนเทียบกับผลิตภัณฑ์ชุมชนทีได้รับการตรวจ (ร้อยละ 3) คำอธิบาย : วัดผลสำเร็จจากร้อยละของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนที่ยื่นคำขอรับการรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน และ สมอ. ได้ดำเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้การรับรองจน เสร็จสิ้น สูตรการคำนวณ จำนวนผู้ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนทั้งหมด (ราย) x จำนวนผู้ที่ได้รับการตรวจสอบจนเสร็จสิ้นตามขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้การรับรอง (ราย)

12 ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ
3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชุนเทียบกับผลิตภัณฑ์ชุมชนทีได้รับการตรวจ (ร้อยละ 3) เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 3.2 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการตรวจสอบตามขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อการรับรอง 94.08 95.08 96.08 97.08 98.08

13 ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท
4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของ สมอ. ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท คำอธิบาย : สมอ. จะกำหนดมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการตามแผนแม่บทด้านการกำหนดมาตรฐาน ( ) ประจำปี 2555 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่กำหนดในปี X 100 จำนวนมาตรฐานในแผนแม่บทด้านการกำหนดมาตรฐาน ปี 2555 สูตรการคำนวณ

14 ตัวชี้วัดระดับกรม ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 58 ระดับ 2 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 63 ระดับ 3 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 68 ระดับ 4 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 73 ระดับ 5 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 78

15 ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 4.2 จำนวนระบบงานที่ขยายขอบข่ายการรับรองเพิ่มขึ้น คำอธิบาย : ระบบงาน หมายถึง ระบบงานตามมาตรฐานสากลที่ สมอ. มีความพร้อมให้การ รับรองเพิ่มขึ้นจากที่ให้บริการเดิม ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 - 2 3 การขยายขอบข่ายการรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น 1 ระบบ 4 การขยายขอบข่ายการรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น 2 ระบบ 5 การขยายขอบข่ายการรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น 3 ระบบ

16 ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 4.3 จำนวนมาตรฐานที่มีผู้ยื่นคำขอ
ตัวชี้วัดที่ จำนวนมาตรฐานที่มีผู้ยื่นคำขอ คำอธิบาย : มาตรฐานที่มีผู้มายื่นคำขอ หมายถึง มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ สมอ กำหนดมาตรฐานแล้วเสร็จและมีผู้ประกอบการอุตสาหกรรมได้รับใบอนุญาต ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = มาตรฐาน 2 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = มาตรฐาน 3 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = มาตรฐาน 4 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = มาตรฐาน 5 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = 666 มาตรฐาน

17 การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงานระดับสำนัก
ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนน มอบหมายหน่วยงาน รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 1. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง 20 1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง 15 1.2 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญ / พิเศษของรัฐบาล ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง 10

18 การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงานระดับสำนัก
ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนน มอบหมายหน่วยงาน รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 ● การประเมินประสิทธิผล 60 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ 10 3.1 ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น (วัดผู้เข้าร่วมโครงการ TLC และผู้ได้รับการรับรอง มผช.) 15 7.5 12.5 สบช. สสพ. สบย. 3.2 ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชุนเทียบกับผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับการตรวจ 98.08 94.08 95.08 96.08 97.08 สบช. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลักของ สมอ. 20 4.1 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท 78 58 63 68 73 สบ.1-4 สรบ. สพค.

19 การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงานระดับสำนัก
ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนน มอบหมายหน่วยงาน รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 ● การประเมินประสิทธิผล 60 4.2 จำนวนระบบงานที่ขยายขอบข่ายการรับรองเพิ่มขึ้น - สรบ. 4.3 จำนวนมาตรฐานที่มีผู้มายื่น คำขอ 666 654 657 660 663 สบ.1-4 สสพ. ● การประเมินคุณภาพ 10 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ( ผู้ได้รับการรับรอง มอก. , รับรองระบบงาน รับรอง มผช.) 7 85 65 70 75 80 สบย. 6 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย

20 การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงานระดับสำนัก
ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนน มอบหมายหน่วยงาน รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 มิติภายใน ● การประเมินประสิทธิภาพ 30 15 7 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต สบก. 8 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน 95 85 87.5 90 92.5 ทุกสำนัก 9 ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย 100 80 สบ.1-4 สรบ. สพค. สบช. สสพ. สบป. สบย. ● การพัฒนาองค์กร 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ


ดาวน์โหลด ppt แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google