งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อุทธรณ์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อุทธรณ์."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อุทธรณ์

2 อุทธรณ์ การอุทธรณ์ หมายถึง การที่ผู้ถูกลงโทษทาง วินัยและถูกสั่งให้ออกจากราชการร้องขอให้ผู้ที่มี อำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดไว้ได้ยกเรื่อง ขึ้นพิจารณาใหม่เพื่อให้เป็นไปในทางที่เป็นคุณ แก่ตนเอง

3 กรณีใดบ้างที่มีสิทธิอุทธรณ์
ผู้ที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์ได้มี ๒ กรณี คือ ๑. กรณีที่ถูกสั่งลงโทษทางวินัย ๒. กรณีถูกสั่งให้ออกจากราชการ ตามมาตรา ๑๑๐

4 ผู้มีสิทธิยื่นอุทธรณ์
๑. ผู้ที่ถูกสั่งลงโทษทางวินัย ๒. ผู้ที่ถูกสั่งให้ออกจากราชการตามมาตร ๑๑๐ ๓. ทายาทของผู้มีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอดตามข้อ ๑ และข้อ ๒ ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่ความตาย ก่อนที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์ ๔. ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากบุคคลตามข้อ ๑ , ๒ และ ๓

5 หนังสืออุทธรณ์ต้องทำอย่างไร
๑. ต้องทำเป็นหนังสือ ๒. ชี้แจงข้อเท็จจริงหรือ ข้อกฎหมายที่ยกขึ้นเป็นข้อคัดค้าน ๓. คำขอของผู้อุทธรณ์ ๔. ลงลายมือชื่อผู้อุทธรณ์

6 กำหนดเวลาในการยื่นอุทธรณ์
๓๐ วันนับแต่วันที่ทราบหรือถือว่า ทราบคำสั่ง (ม. ๑๒๑)

7 อุทธรณ์ต่อใคร ๑. คำสั่งปลดออกหรือไล่ออกจากราชการให้ยื่นต่อ ก.ค.ศ.
๑. คำสั่งปลดออกหรือไล่ออกจากราชการให้ยื่นต่อ ก.ค.ศ. ๒. คำสั่งลงโทษวินัยไม่ร้ายแรงของ เลขา สพฐ. หรือ คำสั่ง ของ ผู้บังคับบัญชาซึ่งตามมติ ของ อ.ก.ค.ศ. ให้อุทธรณ์ต่อ ก.ค.ศ. ๓. คำสั่งลงโทษวินัยไม่ร้ายแรงของ ผู้อำนวยการสำนักงานเขต พื้นที่หรือผู้อำนวยการสถานศึกษา ให้อุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่

8 ผลการวินิจฉัยอุทธรณ์
กรณีอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัย ๑. ถ้าเห็นว่าการลงโทษเหมาะสมกับ ความผิด ให้ยกอุทธรณ์ ๒. ถ้าเห็นว่าการลงโทษเหมาะสมกับความผิดสามารถ เพิ่มโทษหรือลดโทษได้ ๓. ถ้าเห็นว่าผู้อุทธรณ์ไม่ได้กระทำความผิด หรือการกระทำไม่เป็นความผิดให้ยกโทษ

9 ผลการวินิจฉัยอุทธรณ์ (ต่อ)
ผลการวินิจฉัยอุทธรณ์ (ต่อ) ผลการวินิจฉัยของ อ.ก.ค.ศ. หรือ ก.ค.ศ. ถือเป็นที่สุดจะอุทธรณ์หรือ ร้องทุกข์ต่อไปไม่ได้ แต่ สามารถนำคดีไปฟ้องต่อ ศาลปกครองได้


ดาวน์โหลด ppt อุทธรณ์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google