ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผลสำเร็จการดำเนินการ การดำเนินการในระยะต่อไป
นโยบายที่ … : ผู้รับผิดชอบหลัก: แบบฟอร์ม วัตถุประสงค์: ………………………………………………………………………………………………………………… เป้าหมาย: …………………………………………………………………………………………………………………… การดำเนินงาน ที่ผ่านมา ผลสำเร็จการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ/ การดำเนินการในระยะต่อไป
2
ตัวอย่าง ข้อเสนอแนะ/ ผลสำเร็จการดำเนินการ การดำเนินการในระยะต่อไป
นโยบายที่ 1.3: ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ ผู้รับผิดชอบหลัก: รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล) และสำนักงาน ก.พ.ร. ตัวอย่าง เพื่อแก้ปัญหาและยกระดับการต่อต้านคอร์รัปชั่นของประเทศไทยให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล ตลอดจนสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นไม่ต่ำกว่า 5.0 คะแนน ภายในเดือนกันยายน 2558 จัดทำยุทธศาสตร์และแผนงานเชิงรุก ผลสำเร็จการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ/ การดำเนินการในระยะต่อไป ประชาชนมีช่องทางร้องเรียนตลอด 24 ชั่วโมง จำนวนเรื่องร้องเรียน ดำเนินการแล้วเสร็จ ประเภทเรื่องร้องเรียนที่มากที่สุด ดำเนินการ พื้นที่ที่ได้รับการร้องเรียนมากที่สุด.....ดำเนินการ หน่วยงานมีเรื่องร้องเรียนมากสุด .... ดำเนินการ ..... ... กระบวนการโปร่งใสในราชการ ประชาชนพึงพอใจมากขึ้น .... % 19 ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นในกระทรวง ประกาศลงโทษผู้กระทำผิดอย่างจริงจัง กรณี แก้กฎ ก.พ. สอบสวนลงโทษทุจริต< 120 วัน ระยะเวลาวิ่งเต้นน้อยลง หากผิด ไม่ให้รับกลับเข้ารับราชการ เครือข่ายภาคประชาชนมีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริต เพิ่มขึ้น ... % .....ของประชาชนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินการของรัฐบาล สร้างมาตรการโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง ระบบราคากลาง การให้แต้มต่อแก่องค์กรเอกชนโปร่งใส วางระบบการแต่งตั้ง/ โยกย้ายโปร่งใส พัฒนากลไกการตรวจสอบ / การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย สอดคล้องกับพันธกรณีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านทุจริต (UNCAC) สร้างความโปร่งใสการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความรู้ประชาชน / เอกชน มีส่วนร่วมต่อต้านทุจริต เปิดศูนย์ปฏิบัติการ (Anti-Corruption War Room) สร้างความโปร่งใสในหน่วยงาน (Clean Initiative) จัดตั้งศูนย์บัญชาการ นรม. (PM Task Force) แก้กฎ ก.พ. ประกาศลงโทษผู้กระทำผิดอย่างจริงจัง จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นในกระทรวง สัญจร 4 ภูมิภาค ประชาสัมพันธ์สร้าง ความตื่นตัวในเชิงรุก
3
ตัวอย่าง จากการประกาศ “ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” เป็นวาระแห่งชาติของรัฐบาล เมื่อวันที่ 18 พค.ที่ผ่านมา ถือเป็น การKick Off ของ“ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” ที่การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ (Clean Initiative Program) และเพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรม จึงมีการจัดตั้งศูนย์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น (Anti-Corruption War Room) ) โดยมีปปท.เป็นผู้รับผิดชอบ ซึ่งจะเชื่อมโยงรายงานผลไปยังศูนย์บัญชาการนายกรัฐมนตรี (PM Task Force)ที่มีสลน.รับผิดชอบ รวมถึงเปิดสายด่วน 1206 และเวปไซด์ (PMOC. ) เพื่อรับเรื่องร้องรับเรื่องร้องเรียนตรงถึงนายกรัฐมนตรี เร่งรัดติดตามกรณีการดำเนินการล่าช้า/ มีการร้องเรียนซ้ำถึง นรม. (ใส่เพิ่มจำนวนเรื่องร้องเรียน หากมี) และเพื่อให้กระบวนงานของส่วนราชการ/ จังหวัดเกิดความโปร่งใส จึงกำหนดนโยบายให้ผู้บริหารส่วนราชการ แต่ละหน่วยงานเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาในการแก้ไข และการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นอย่างยั่งยืนเพื่อพิจารณาให้ลงนามในสัตยาบัน และนำไปสู่การปฎิบัติในช่วง ก.ค. 55 – มี.ค. 56 รวมถึงการติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลสำเร็จของการดำเนินการ โดยจะศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นในทุกกระทรวง ในช่วงเดือนสค.55 และเพื่อรองรับให้“ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” เกิดผลสัมฤทธิ์ ที่จะนำไปสู่การพัฒนาระบบการตรวจสอบจากภายนอก (Public Scrutiny) ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ และการพัฒนาผู้ประเมินอิสระ (Independent Assessor) รวมทั้งส่งเสริมองค์กรเอกชนโปร่งใส จัดทำ Positive Listและให้ Certificate of Corruption Free ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงมีการกำหนดแนวทางดำเนินการในระยะต่อไป ไม่ว่าจะเป็นการกำหนดมาตรการสนับสนุนการสร้างความโปร่งใสในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของทางราชการ เช่น ระบบราคากลาง การให้แต้มต่อแก่องค์กรเอกชนโปร่งใส ,การกำหนดแนวทางการวางระบบการแต่งตั้ง/ โยกย้ายที่โปร่งใส โดยอาศัยกลไกการตรวจสอบและมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ,การส่งเสริม ให้ความรู้ประชาชนและภาคเอกชน เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริต ,การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพื่อให้สอดคล้องกับพันธกรณีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านทุจริต (UNCAC)รวมทั้ง สร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นอกจากนั้น ยังจะมีการ แก้กฎ ก.พ. เพื่อเร่งดำเนินการสอบสวนลงโทษกรณีทุจริตแล้วเสร็จภายใน 120 วัน ซึ่งจะทำให้การสอบสวนและลงโทษที่รวดเร็วขึ้น โดยจะทำให้มีระยะเวลาในการวิ่งเต้นน้อยลง และหากพบการกระทำผิดจะมีบทลงโทษตั้งแต่ การกำหนดไม่ให้ข้าราชการที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตเติบโตในสายงาน (Blacklist) ไม่สามารถเติบโตขึ้นไปเป็นผู้บริหารระดับสูง และกระทำการทุจริตต่อไปได้ รวมถึงกำหนดโทษรุนแรงสุด คือกำหนดไม่ให้ส่วนราชการรับผู้ถูกลงโทษทุจริตกลับเข้ารับราชการ เพื่อป้องกันการเกิดเหตุซ้ำ ถือเป็นการตัดวงจรการทุจริต ทั้งนี้ การดำเนินการตาม “ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” กล่าวก็เพื่อที่ยกระดับการต่อต้านคอร์รัปชั่นของประเทศไทยให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีและความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยทางกพร.ได้กำหนดเป้าหมายของดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นไม่ต่ำกว่า 5.0 คะแนน ภายในเดือนกันยายน 2558
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.