ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBarinai Lamwilai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาแผนปฏิบัติ ฉบับบูรณาการ จาก แผนแม่บท สู่แผนปฏิบัติฉบับบูรณาการ
รายงานโดย นายทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อำนวยการ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เลขานุการ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
2
หัวข้อการนำเสนอ เส้นทางเวลาของการพัฒนา ICT ประเทศไทย
ตอนที่ ๑ ภาพรวมยุทธศาสตร์การพัฒนา ICT และ e-Commerce ในประเทศต่างๆ ตอนที่ ๒ สรุปสาระสำคัญของยุทธศาสตร์ การพัฒนา ICT ของประเทศไทย ตอนที่ ๓ การแปลงแผนแม่บท ICT ไปสู่การปฏิบัติ แนวทางการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕ กันยายน ๒๕๔๕ ตอนที่ ๔ สรุปสาระสำคัญของแผนปฏิบัติฉบับบูรณาการ ประเด็นเพื่อการพิจารณา การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
3
๑ ภาพรวมยุทธศาสตร์การพัฒนา ICT และ e-Commerce ในประเทศต่างๆ
Concerns of developing and least developed countries Concerns of developed And industrial leaders Basic Telecommunications Basic Access to the Internet Human Capacity Building Affordable Access Devices (PCs, PDA) National ICT Policy and Plan Threat of Liberalization Appropriate Software (Legal, compact, low cost) Local Language enabled on Computers Creation of Local Contents Portal Sites e-Government -- Government Facilitation Standards in manufacturing, safety, health IT-Laws (e-Transaction, e-Signature, Computer Crime, Data Protection) Security -- Information/System/Network Authentication and Certification, PKI Broadband Access (Corporate, home) IT-Manpower development Regional Networking Collaboration Opportunities from Liberalization and Regionalization e-Marketplaces e-Payment infrastructure Consumer Protection Cross Border Certification Intellectual Property rights Protection Privacy Wireless Local Loop Domestic Internet Exchange Regional Training Center Low Cost PC Program Rural Empowerment Open Source solutions Machine Translation Digital Archive E-Learning UNCITRAL Model Laws World PKI Forum WIPO การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
4
เส้นทางเวลาของ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย
แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ ปี พ.ศ. ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ กรอบนโยบาย IT2000 (๒๕๓๙-๒๕๔๓) กรอบนโยบาย IT2010 (๒๕๔๔-๒๕๕๓) แผนแม่บท ICT ของประเทศ ไทย พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ การตั้งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๕) แผนปฏิบัติ ปีงบประมาณ ๒๕๔๖-๒๕๔๗ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
5
๒ สาระสำคัญของ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙
6
ยุทธศาสตร์และแผนงาน ๔. ยกระดับพื้นฐานสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต
๗. ICT กับการบริหารงานภาครัฐ กับการ ๑. พัฒนาอุตสาหกรรม ICT ๓. การปฏิรูป R&D ๖. ICT เพื่อ SMEs ๒. ยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคมไทย ๕. การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
7
ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์ และผลลัพธ์ที่ประสงค์
การกระจายตัว เพื่อความยั่งยืน ศักยภาพ และการแข่งขัน ผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจใหม่ ผลลัพธ์ในภาคเศรษฐกิจอื่น ความทั่วถึงและเท่าเทียมกันในการเข้าถึงสารสนเทศ โอกาสทางการศึกษาและสุขภาพที่ดีของประชาชน ทรัพย์สินทางปัญญา ทุนทางปัญญา ทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสามารถ มูลค่าเพิ่มในผลิตภัณฑ์และบริการที่สูงขึ้น Mass customization Clustering Economy of speed การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน/ภาคเอกชน การลดค่าใช้จ่ายของภาคเอกชน ลดความสูญเสียจากการทำงานที่ขาดความโปร่งใส 2. ยกระดับคุณภาพชีวิต และสังคมไทย 1. การพัฒนา อุตสาหกรรม ICT 5. พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ 7. ICT กับการบริหารงานภาครัฐ 4. ยกระดับพื้นฐานสังคมไทยเพื่อการแข่งขัน 3. การปฏิรูปการวิจัยและพัฒนา 6. ICT เพื่อ SMEs การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
8
ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์เร่งด่วน และการผลักดันขับเคลื่อน
การกระจายตัว เพื่อความยั่งยืน ศักยภาพ และการแข่งขัน ผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจใหม่ ผลลัพธ์ในภาคเศรษฐกิจอื่น 5. พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ 2. ยกระดับคุณภาพชีวิต และสังคมไทย 1. การพัฒนา อุตสาหกรรม ICT 7. ICT กับการบริหารงานภาครัฐ 3. การปฏิรูปการวิจัยและพัฒนา 6. ICT เพื่อ SMEs 4. ยกระดับพื้นฐานสังคมไทยเพื่อการแข่งขัน ลำดับของการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ 2 เริ่มต้นจากวงจรการพัฒนา ICT และมีผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจในระยะต้น 1 ขยายเป็นวงจรการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
9
ยุทธศาสตร์ ๑ : การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อให้เป็นผู้นำในภูมิภาค
“ให้องค์กรภาครัฐและเอกชนร่วมกันเร่งรัดพัฒนาอุตสาหกรรม ICT โดยนำความประณีตและภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทั้งนี้ให้ใช้ส่วนงานภาครัฐเป็นลูกค้านำของตลาดในประเทศและตลาด ICT ระดับภูมิภาคเป็นลูกค้านำขั้นต้นสำหรับตลาดต่างประเทศ และให้มีการลงทุนการพัฒนาอุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ รวมถึงการผลักดันกฎหมายเพื่อสนับสนุนให้มีการใช้ ICT เพิ่มมากขึ้น” พัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์โดยความร่วมมือระหว่างรัฐ/เอกชน จัดตั้ง Software Industry Promotion Agency (SIPA) สร้างกลไกกระตุ้นการพัฒนา ICT พัฒนาตลาดผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ที่ผลิตจากผู้ประกอบการในประเทศ โดยใช้ตลาดภาครัฐเป็นตัวนำ พัฒนาระบบติดตามผลการทำงานของ SIPA จัดทำแผนแม่บทการพัฒนาบุคลากร ICT พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ/ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ไทย พัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการซอฟต์แวร์ สนับสนุนให้มีศูนย์ทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ICT สนับสนุนภาคเอกชนลงทุนในอุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์ต่อเนื่องซอฟต์แวร์ เร่งรัดการยกร่างกฎหมาย ICT การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
10
ยุทธศาสตร์ ๒ : การใช้ ICT เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและสังคมไทย
“ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ประโยชน์จากสารสนเทศที่เหมาะสม โดยเร่งรัดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ สร้างภูมิปัญญา ให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์พื้นฐานทางการเกษตรและอุตสาหกรรมชุมชนต่างๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย และเพิ่มรายได้กับยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทย ทำให้เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ควบคู่กับการสร้างภูมิคุ้มกันภัยคุกคามและผลกระทบในทางลบที่มากับยุคโลกาภิวัตน์ ” พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโครงข่ายโทรคมนาคม ให้ใช้ประโยชน์จากกฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทารสนเทศ (NII) ใช้ประโยชน์จาก ICT เพื่อพัฒนาการศึกษา การเรียนการสอน ส่งเสริมการแปลหนังสือ เอกสาร จากภาษาต่างประเทศ ส่งเสริมการพัฒนาข้อมูลและความรู้ในการครองชีพและยกระดับคุณภาพสังคม ของชุมชน ส่งเสริมบทบาทสื่อมวลชนในการเผยแพร่ความรู้ด้าน ICT ส่งเสริมให้องค์กรส่วนท้องถิ่นใช้ประโยชน์จาก NII พัฒนาและเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์ สร้างความเชื่อมั่นต่อการนำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
11
ยุทธศาสตร์ ๓ : การปฏิรูปและการสร้างศักยภาพการวิจัยและพัฒนา ICT
กำหนดนโยบายปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาหลักสูตรและแนวทางการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ สร้างแรงจูงใจให้บุคลากรสนใจที่จะประกอบอาชีพวิจัย ให้ภาครัฐจัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินร่วมทุนเบื้องต้น (seed money) เพื่อสนับสนุนและจูงใจให้มีการลงทุน R&D ใน ICT กำหนดกลยุทธ์การส่งเสริม R&D ด้าน ICT ของไทย สนับสนุนการวิจัยคนคว้าเพื่อให้เกิดผลผลิตที่สามารถประยุกต์เป็นอุตสาหกรรมเชิงพาณิชย์ จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ การติดตามรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลด้าน ICT เพื่อสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
12
กระตุ้นให้สาธารณชนในวงกว้างเกิดความสนใจใน ICT และกิจกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ยุทธศาสตร์ ๔ : การยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต “ให้องค์กรภาครัฐและเอกชนร่วมกันสร้างความรู้ความเข้าใจในประโยชน์ของ ICT ให้แก่ประชาชนโดยทั่วไป เพื่อให้เกิดการเรียนรู้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อผลักดันการใช้ ICT ให้เกิดการบริหารจัดการที่ดี และสามารถใช้โอกาสจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ภาคเศรษฐกิจพื้นฐานที่จะทำให้ประเทศไทยมีศักยภาพการแข่งขันในระดับภูมิภาคและระดับสากลได้อย่างสมบูรณ์” สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของ ICT ผ่านทางเครือข่ายสถาบันการศึกษาของทุกภูมิภาคและชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนผลิตอุปกรณ์ ICT ที่มีคุณภาพและราคาประหยัด กระตุ้นให้สาธารณชนในวงกว้างเกิดความสนใจใน ICT และกิจกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาบุคลากรในวิชาชีพอื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนา ICT โดยทั่วไป การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
13
ยุทธศาสตร์ ๕ : การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ เพื่อมุ่งขยายตลาดต่างประเทศ
“กำหนดมาตรการและวิธีการที่จะเร่งส่งเสริมผู้ประกอบการ ให้มีความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตสินค้าและการตลาด โดยใช้มาตรฐานเปิดเพื่อสร้างโอกาสการเชื่อมโยงข้อมูลและระบบงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อลดต้นทุนในการประกอบธุรกิจ โดยภาครัฐสนับสนุนการส่งออกผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นในช่วงแรก ด้วยการปรับปรุงกฎหมายให้ทันต่อความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของทรัพย์สินทางปัญญารวมถึงที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วย และให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรด้าน ICT ให้ได้มาตรฐานคุณภาพวิชาชีพตามหลักสากล ตลอดจนสร้างเสริมความสามารถและประสบการณ์ด้านการตลาดเพื่อให้ผู้ประกอบการไทยได้มีโอกาสขยายส่วนแบ่งตลาดให้มากขึ้น จากความต้องการในผลิตภัณฑ์และบริการและรายได้ของประชากรที่กำลังเพิ่มขึ้นในภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง” ทบทวนและปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรมนำ ICT มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการนำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้เพื่อลดต้นทุนในการดำเนินงานสำหรับการขยายตลาดไปยังตลาดต่างประเทศ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการใช้ broadband internet การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
14
ยุทธศาสตร์ ๖ : การส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมใช้ ICT
“กระตุ้นให้ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ใช้ ICT เพื่อการพัฒนาธุรกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการจัดการ การบริหารการผลิต และการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เพื่อสร้างความพร้อมต่อการแข่งขันเสรีในระบบเศรษฐกิจยุคโลกาภิวัฒน์ และลดผลกระทบจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ” จัดให้มีกลไก วิธีการถ่ายทอดและดูดซับเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและเหมาะสมให้แก่ SMEs สร้างแรงจูงใจให้เกิดกลุ่มพันธมิตร SMEs เพื่อจะร่วมกันนำ ICT ทั้งระบบมาใช้ประโยชน์ในการบริหาร การจัดการธุรกิจ เร่งส่งเสริมและพัฒนา e-Business นำ ICT มาช่วยในการจัดการจัดการการทำธุรกิจ การสื่อสาร โดยเฉพาะการใช้ supply chain management ในภาคอุตสาหกรรม พัฒนาผู้ประกอบการให้มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการนำ ICT ที่เกิดจากอุตสาหกรรมภายในประเทศมาใช้ในธุรกิจ จัดทำฐานข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อการวางแผนและการให้บริการ พัฒนา SMEs Portal เพื่อให้บริการแก่ผู้ประกอบการ เสริมสร้างให้เกิดความเป็น entrepreneurship การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
15
ยุทธศาสตร์ ๗ : การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและการให้บริการของภาครัฐ
ปฏิรูปการบริหารและการจัดการของหน่วยงานภาครัฐ โดยจัดตั้งโครงสร้างส่วนงานสนับสนุน CIO ปรับกฎระเบียบและวิธีบริหารราชการเพื่อใช้ประโยชน์จาก ICT และจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา ICT อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาฐานข้อมูลภาครัฐโดยกำหนดมาตรฐานที่เกี่ยวกับข้อมูลและการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้ทุกหน่วยงานแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างมีเอกภาพ จัดให้มีระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ (GIS) เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การบริหารจัดการทรัพยากร และการป้องกันภัยพิบัติ บริหารการใช้โครงข่ายสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัย พัฒนาบุคลากรภาครัฐ ทั้งด้าน ICT และด้านอื่นๆ รวมถึงการจัดตั้งสถาบัน e-Government สำหรับการพัฒนาความรู้ความสามารถด้าน ICT พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลเพื่อประเมินผลสำเร็จและวิเคราะห์ปัญหาการพัฒนา ICT ของประเทศ พัฒนาระบบโครงข่ายประสาทดิจิทัล (Digital Nervous System) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
16
แผนงานที่เป็นพลังขับเคลื่อน
โปรแกรมการพัฒนาด้าน ICT ระดับชาติ ทั้ง 3 นี้ จะเป็นโปรแกรมเริ่มต้นที่จะจุดชนวนวงจรการพัฒนา ด้าน ICT ให้ขับเคลื่อน และเป็นพลังด้านเศรษฐกิจทั้ง เศรษฐกิจใหม่ และเศรษฐกิจเดิม การพัฒนา สร้างศักยภาพ และความพร้อมของ อุตสาหกรรม ICT ด้าน software การพัฒนาข้อมูลภาครัฐ เพื่อการใช้งานร่วมกัน และบูรณาการ โดยเน้นการพัฒนาชนบททั้งภาคเศรษฐกิจ การศึกษา และชุมชน การพัฒนาระบบและโครงสร้าง ICT สำหรับ SMEs ในภาคอื่นๆ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
17
๕.๑ การพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
โครงการจัดตั้งองค์กรส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ (Software Industry Promotion Agency: SIPA) โครงการจัดตั้งสถาบันฝึกอบรมวิชาชีพชั้นสูง นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (professional training) โครงการนำเข้าแรงงานความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์ (knowledge workers) โครงการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้าน ซอฟต์แวร์ (excellent center) โครงการใช้ตลาดภาครัฐเป็นตัวนำ (government-led national ICT projects) โครงการรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โครงการรับรองคุณภาพมาตรฐานซอฟต์แวร์ และมาตรฐานวิชาชีพบุคลากร การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
18
๕.๒ การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
โครงการพัฒนาบัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ (Multi-application smart ID card) โครงการพัฒนาระบบจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) โครงการพัฒนาและจัดทำมาตรฐานซอฟต์แวร์กลาง เพื่อการบริหารของภาครัฐ (ระบบ back office) โครงการจัดตั้งศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ (Government Data Exchange: GDX) โครงการจัดทำโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (National Spatial Data Infrastructure) โครงการจัดตั้งสถาบัน e-Government การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
19
๕.๓ ส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมในการนำ ICT มาประยุกต์ใช้
โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งของ SMEs ด้วย ICT โครงการพัฒนาหน่วยงานกลางที่บริหารระบบงานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (1T1P) โครงการนำร่องเพื่อพัฒนา e-businessในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
20
๓ การแปลงแผนแม่บท ICT ไปสู่การปฏิบัติ แนวทางการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕ กันยายน ๒๕๔๕
21
จากแผนแม่บท สู่แผนปฏิบัติ(เร่งด่วน) และแผนแม่บทระดับกระทรวง (อีกไม่เกิน ๖ ด.)
๖ กันยายน กทสช.ให้ความเห็นชอบในร่างแผนแม่บทของประเทศ ๒๕ กันยายน คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในแผนแม่บทของประเทศ กันยายน ๔ ตุลาคม แจ้งเวียนมติ ครม. และสั่งการให้ทุกกระทรวง ทบวง กรม ฯลฯ จัดทำแผนแม่บท ICT ของหน่วยงาน และให้สำนักงานเลขานุการ กทสช.จัดทำแผนปฏิบัติร่วมกับหน่วยงานเสนอ ครม.ภายใน ๖๐ วัน ๒๘ ตุลาคม รมว.ทก.เรียกประชุม CEO Roundtable เพื่อซักซ้อมความเข้าใจและแนวทางการทำแผนปฏิบัติ/แผนแม่บทของหน่วยงาน ตุลาคม ๘ พฤศจิกายน หน่วยงานส่งรายการแผนปฏิบัติให้แก่สำนักงานเลขานุการ กทสช.เพื่อทำหน้าที่บูรณาการ ๒๕ พฤศจิกายน ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทานผลการบูรณาการแผนปฏิบัติ พฤศจิกายน ๓ ธันวาคม นำแผนปฏิบัติฯ เข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ธันวาคม การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
22
สรุปมติคณะรัฐมนตรีที่แจ้งเวียนเมื่อ ๔ ตุลาคม ๒๕๔๕ ที่ทุกหน่วยงานภาครัฐต้องปฏิบัติ
ให้หน่วยงาน ระดับกระทรวง กรม และรัฐวิสาหกิจจัดทำ และ/หรือปรับแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงาน ทุกส่วนราชการและหน่วยงาน รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำแผนปฏิบัติ ของหน่วยงาน และนำเสนอคณะรัฐมนตรีภายใน ๖๐ วัน (โดยประสานกับสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ) ให้หน่วยงานภาครัฐที่มีแผนเกี่ยวกับ Smart Card จัดส่งข้อมูล/แผนงานให้กับสำนักงานเลขานุการฯ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
23
แผนปฏิบัติ นำเสนอแผนปฏิบัติต่อคณะรัฐมนตรีภายใน ๖๐ วัน นับจาก ๔ ตุลาคม ๒๕๔๕ พิจารณาภารกิจของหน่วยงานจากยุทธศาสตร์ แผนงานกิจกรรม แผนงานขับเคลื่อน และหน่วยงาน “เจ้าภาพ” ตามที่ระบุในแผนแม่บทฯ เน้นการดำเนินงาน/โครงการระยะ ๒ ปี (๒๕๔๖-๒๕๔๗) สำนักงานเลขานุการฯ จัดส่งตารางเพื่อขอข้อมูลโครงการของทุกหน่วยงาน เพื่อนำมาบูรณาการ และจัดทำแผนปฏิบัติ โดยกำหนดส่งข้อมูลภายใน ๘ พฤศจิกายน การประชุม CEO Roundtable ๒๘ ตุลาคม การประชุม CIO Workshop ๒๕ พฤศจิกายน กิจกรรมในวันนี้ .. การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
24
๔ สรุปสาระสำคัญของแผนปฏิบัติ ฉบับบูรณาการ
๔ สรุปสาระสำคัญของแผนปฏิบัติ ฉบับบูรณาการ
25
สรุปการจัดส่งเอกสารและการรับเอกสาร แผนปฎิบัติของหน่วยงาน
แผนงานที่ส่งให้ สนล.กทสช.ทันวันที่ ๑๕ พย. ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จะได้รับการบรรจุลงในเล่มเอกสารที่ใช้ในการประชุม การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
26
สิ่งที่ได้จากการประมวลและบูรณาการข้อมูล
รวมกลุ่มโครงการ ของหลายหน่วยงานที่มุ่งเป้าประสงค์ในแผนงานเดียวกัน ยุทธศาสตร์ 1.1 A7 D2 E3 1.2 B2 R3 P10 1.3 C5 E12 K4 2.1 J8 D4 A2 2.4 W2 Q6 D9 2.2 G5 C2 2.3 วางโครงการ ตามลักษณะ ของแผนงาน กรมอุตุนิยมวิทยา กรมไปรษณีย์โทรเลข สำนักงานสถิติแห่งชาติ A B C D แผนงาน ที่ไร้เจ้าภาพ แผนงาน ที่ไร้โครงการ ระบุหน่วยงานหลัก (เจ้าภาพ) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
27
การวิเคราะห์ข้อมูล แนวทางปฏิบัติ
กลุ่มโครงการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน (Clustering) แนวทางในการประสาน เชื่อมโยงระหว่างโครงการ โครงการภายใต้แผนงาน/กิจกรรมที่ซ้ำซ้อนกัน แนวทางลดความซ้ำซ้อนระหว่างโครงการ แผนงาน/กิจกรรมที่ยังไม่มีโครงการรองรับหรือมีจำนวนน้อยมาก พิจารณามาตรการ โครงการที่ควรต้องริเริ่มดำเนินการเพิ่มเติม แผนงาน/กิจกรรม และโครงการประเภทที่ต้องใช้ความร่วมมือระหว่างหลายๆ หน่วยงาน การกำหนดบทบาทของกระทรวง ICT เพื่อเป็นผู้ประสาน ขับเคลื่อนกิจกรรม งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ไม่ได้รับ งบประมาณที่จะขอในปี๒๕๔๗ งบประมาณโดยรวม และโครงการที่ควรเร่งดำเนินการ แต่ยังขาดงบประมาณ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
28
ตารางสรุปจำนวนโครงการและงบประมาณแผนปฏิบัติ ของยุทธศาสตร์
จำนวน โครงการ งบประมาณรวม (ล้านบาท.) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 210 18,819 267 182 52 191 3,789 51 187 30 37 23 68 689 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
29
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ: ประเด็นเพื่อพิจารณา
การกระจายของโครงการ - แผนงานกิจกรรมที่ไม่มีโครงการรองรับ/ หรือมีโครงการรองรับน้อย - แผนงานกิจกรรมที่ไม่มีโครงการของหน่วยงาน ที่ระบุว่าเป็นหน่วยงานหลักตามแผนแม่บทฯ - แผนงานกิจกรรมที่มีการกระจุกตัวของโครงการสูง การจัดสรรงบประมาณ - โครงการที่เน้นการบริหารจัดการ vs การลงทุน - การกระจุกตัวของงบประมาณ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
30
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ: ประเด็นเพื่อพิจารณา
ความสอดคล้องของโครงการที่แจ้งมา กับตัวแผนงานในแผนแม่บท ความคล้ายคลึงของโครงการในหลายหน่วยงาน และแนวทางการร่วมมือระหว่างหน่วยงาน โครงการที่ตั้งชื่อเป็น “กิจกรรม” โดยไม่เชื่อมโยงกับ Performance สมควรแต่งตั้งให้ “หน่วยงานหลัก” (เจ้าภาพ) ประจำแผนงาน รับไปประสาน เพื่อให้เกิดความชัดเจน และเป็นการทำ “อนุบูรณาการ” ในระดับแผนงานต่อไป การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
31
แนวทางการปรัปปรุงและจัดทำ แผนปฏิบัติฉบับสมบูรณ์
การปรับปรุงแผนปฏิบัติฉบับบูรณาการหลังการสอบทาน หน่วยงานที่ยังไม่ได้จัดส่งข้อมูล หน่วยงานที่ขอแก้ไขข้อมูล วันปิดงานเอกสาร “แผนปฏิบัติ” และวันเสนอ ครม. กรอบระยะเวลา การเตรียมระบบติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
32
ขอบคุณ http://www.nitc.go.th/masterplan/
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
33
Extras, do not print out...
34
Timeline of IT2010 National IT Policy and National ICT Master Plan
Ninth National Economic and Social Development Plan Tenth National Economic and Social Development Plan Year IT2000 Policy ( ) IT2010 Policy ( ) National ICT Master Plan Establishment of the Ministry of Information and Communications Technology Comprehensive Action Plan การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสอบทาน "แผนปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.