ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNiran Inchareon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ หัวข้อปัญหา การจัดการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน preventive maintenance ชื่อโครงการ การให้บริการเชิงรุก “ซ่อมบำรุงเดลิเวอร์รี่” กลุ่มช่างไฟฟ้า
2
ประเภทโครงการ ต่อยอดโครงการเดิม โครงการเดิม
3
หลักการและเหตุผล (มูลเหตุจูงใจ) ปัจจุบัน
ปัจจุบันการให้บริการเชิงรุก “ซ่อมบำรุงเดลิเวอรรี่” ได้ ดำเนินการมาระยะหนึ่ง ซึ่งทำให้มองเห็นว่าโครงการที่ทำอยู่ใน ปัจจุบันนี้ กำลังดำเนินงานไปได้ด้วยดี มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล มีผล การตอบรับดี จึงได้ริเริ่มที่จะจัดทำ preventive maintenance ขึ้น
4
วัตถุประสงค์ เพื่อได้มีการตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ประจำ สำนักงาน ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ เพื่อให้ได้มีการตรวจสอบสภาพอายุงาน ของวัสดุ อุปกรณ์ ใน สำนักงาน เพื่อเป็นการเพิ่มทักษะ ของช่างผู้ปฏิบัติงาน ให้มีความชำนาญ มากขึ้น
5
ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
อัตราการทำ preventive maintenance ของระบบไฟฟ้า ให้เป็นไปตามแผนการที่กำหนด อัตราการซ่อมของงานช่างไฟฟ้า อัตรา ความพึ่งพอใจของผู้รับบริการและหน่วยงาน
6
แผนหรือขั้นตอนการดำเนินงาน ขอบเขตของโครงการ 8 เดือน ระยะเวลาดำเนินการ ระยะเวลาเริ่มต้นวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2554 รวม 8 เดือน
7
ผู้รับผิดชอบโครงการ ลำดับ ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง หน่วยงาน 1
นายอนุรักษ์ แก้วมีแสง ที่ปรึกษากลุ่ม ซ่อมบำรุง 2 นายเชาวลิต คำสุข ประธานกลุ่ม 3 นายเจนศักดิ์ เจริญศิลป์ เลขานุการ 4 นายจำลอง ฟักสุข สมาชิก 5 นายวิสิทธิศักดิ์ พุ่มเฉลา 6 นายชัยกร พระยาน้อย 7 นายพิษณุ ประไพตระกูล 8 นายสมชาย จันทร์งาม 9 นายกิตติ สอนศรี 10 นายจเด็จ เนียมสำราญ 11 นายสัตยา บุญอินทร์
8
การประเมินผลโครงการ มีการประเมินผลทุกๆ 3 เดือน เพื่อให้ได้ข้อมูล นำมาประกอบ กับการวิเคราะห์ หามูลเหตุในการตัดสินใจในการจัดการขั้น ต่อไป
9
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ลดการชำรุดสูญเสีย การเกิดอุบัติภัยและอุบัติเหตุเบื้องต้น ลดค่าใช้จ่ายบางประการที่อาจก่อให้เกิดการเสียหายในอนาคต เพิ่มความรู้และทักษะในการปฏิบัติ ให้มีความชำนาญในงานที่ ต้องรับผิดชอบมากขึ้น
10
สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ
โครงการได้สรุปหาสาเหตุและได้ทำการปรับปรุง กับปัญหาที่ เกิดขึ้นอย่างละเอียดรอบครอบและมีมาตรฐานตามหลักวิชาการ มาตรฐาน ทางวิศวกรรม และได้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญมาช่วยใน การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้เกิดการผิดพลาดที่น้อยที่สุด
11
สรุปการขยายผลหรือการปรับปรุงที่เพิ่มเติมจากโครงการปีที่แล้ว
จากโครงการที่ผ่านมาของปีที่แล้วเราได้ให้บริการงานซ่อมแบบเชิงรุกโดยทำ เป็นทีม และทางโครงการได้ขยายผลต่อยอดให้เพิ่มจากเดิมโดยการจัดการทำ การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (preventive maintenance) ของระบบประกอบอาคาร ของอาคารจามจุรี1 ถึง อาคารจามจุรี 5 และจะต่อยอด ไปยังอาคารต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยต่อไป
12
ความถี่ในการตรวจบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าของอาคาร
ลำดับ รายการตรวจสอบบำรุงรักษา 2สัปดาห์ 1เดือน 3เดือน 6เดือน 1ปี หมายเหตุ 1 ระบบไฟฟ้าแรงสูง √ 1.1 สายอากาศ 1.2 สายใต้ดิน 2 หม้อแปลงไฟฟ้า 3 ระบบไฟฟ้าแรงต่ำ 3.1 แรงต่ำภายนอกอาคาร 3.2 แผงสวิตซ์นอกอาคาร 3.3 แรงต่ำภายในอาคาร 3.4 แผงสวิตซ์เมน 3.5 สายป้อน 3.6 แผงสวิตซ์ย่อย 3.7 วงจรย่อยและอุปกรณ์ไฟฟ้า 3.8 สายป้อนสำหรับระบบประกอบอาคาร 4 เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 5 ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า
13
รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างไฟฟ้า
14
รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างไฟฟ้า
15
รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างไฟฟ้า
16
รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างไฟฟ้า
17
จบการนำเสนอ ถาม-ตอบ = ?
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.