ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThitisorn Kitjakarn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
Dr.Bundit Sriputtangul ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร การบริหารจัดการ
ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน Dr.Bundit Sriputtangul ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร .com/sriputtangul Office: Mobile: website: การบริหารจัดการ เพื่อยกกระดับคุณภาพสู่สากล
2
เปลี่ยนแปลงในบริบทโลก….ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบ
การแข่งขันทางธุรกิจและระบบสังคมไทย Major Global Changes Change in Competition Platform & Business Model 1 Technological Change 6 Political Change 2 Climate Change Emergence of “the Second Economy” Conflict People participation Disaster Energy & food security Transforming 5 Cultural Change 3 International Economic Platform Change Change in Social System and Interaction 4 Demographical Structure Change Social value change More individualism Economic integration & connectivity Aging Society
3
ธรรมาภิบาล และการขับเคลื่อนแผนฯ 11
สรุปประเด็นการพัฒนาในแผนฯ11 ๙ การสร้าง คน และ สังคมคุณภาพ การสร้างความเป็นธรรมในสังคม (ยุทธศาสตร์ที่ 1) การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ (ยุทธศาสตร์ที่ 2) การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ แผนฯ 11 การสร้างความเข้มแข็งของภาคเกษตรและความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 3) การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน (ยุทธศาสตร์ที่ 4) การเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค (ยุทธศาสตร์ที่ 5) การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ ธรรมาภิบาล และการขับเคลื่อนแผนฯ 11 การเตรียมการรองรับความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและสภาพแวดล้อม และการสังคมคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(ยุทธศาสตร์ที่ 6)
4
ทบทวนอุตสาหกรรมของไทยที่มีศักยภาพการแข่งขัน
การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการไทย เมื่อปี 2549 ได้กำหนดอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ 5 อุตสาหกรรม (Five Global Niches) ได้แก่ 1. อุตสาหกรรมอาหาร (Kitchen of the World) อุตสาหกรรมแฟชั่น (Asia Tropical Fashion) 3. อุตสาหกรรมยานยนต์ (Detroit of Asia) 4. อุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Asia Tourism Capital) 5. อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ (World Graphic Design and Animation Centre) เมื่อทบทวนศักยภาพของอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ที่ได้กำหนดไว้ในปี 2549 จากการวิเคราะห์ VCCM พบว่า อุตสาหกรรมอาหารของไทยยังคงเป็นอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพการแข่งขันสูง เนื่องจาก จากการวิเคราะห์ VCCM สินค้าที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง 5 ใน 12 สินค้า มาจากสินค้าที่มีพื้นฐานมาจากภาคเกษตร และเป็น สินค้าอาหาร ได้แก่ ข้าว น้ำตาล อาหารทะเลแปรรูปและแช่แข็ง ผักและผลไม้กระป๋อง และเนื้อสัตว์แปรรูป อุตสาหกรรมแฟชั่นยังมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยอัญมณีและเครื่องประดับเป็นสินค้าในกลุ่มแฟชั่นที่ ความสามารถในการส่งออกสูง แม้ว่าจะมีมูลเพิ่มไม่สูงนัก แต่เมื่อผนวกกับสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มที่มีความสำคัญ ต่อระบบเศรษฐกิจมาก ทำให้อุตสาหกรรมแฟชั่นยังมีศักยภาพสูง หมายเหตุ: VCCM มีข้อจำกัดในการประเมินความสามารถในการแข่งขันเฉพาะ “สินค้า” ที่มีการส่งออกเท่านั้น โดยไม่สามารถ ประเมินสินค้าที่ไม่ส่งออก และสาขาบริการส่วนใหญ่ได้
5
การยกระดับคุณภาพการศึกษา : Moving Forward with Education Reform
6. ผลิตนักเรียนให้ตรง กับความต้องการ ของตลาดแรงงาน 1. ทำความร่วมมือ หน่วยงานภาครัฐ 2. ปรับอัตราเงิน อุดหนุน 7. ส่งเสริมการลงทุน ของภาคเอกชน นโยบายส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน 3. ยกระดับคุณภาพ 8. สร้างภาพลักษณ์ เป้าหมาย เพิ่มสัดส่วนผู้เรียน ในสถานศึกษาเอกชน ในระบบ เป็นร้อยละ 30 ภายในปี 2559 4. แก้ไขกฎ ระเบียบ ที่เป็นอุปสรรค ต่อภาคเอกชน 9. บริการรวดเร็ว ทันต่อ ความต้องการ 5. ลดหย่อนภาษี (โรงเรือน/ภาษีนำเข้า สื่อ อุปกรณ์) กำหนดมาตรการ ให้ภาคเอกชน มีส่วนร่วม กลไกการขับเคลื่อน (1) ตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมบทบาทเอกชน โดยการมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วน ภายใน 1 เดือน (2) กำหนดแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนนโยบาย ภายใน 3 เดือน
6
แนวทางการกำหนดสาระการเรียนรู้
7
ปัจจัยดึงดูดผู้มาใช้บริการ
8
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 8 ประการ
1. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน 2. ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู 3. เร่งนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการปฏิรูปการ เรียนรู้ 4. พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาให้มีมาตรฐานเทียบได้กับระดับสากล ให้ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ 5. ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน มากกว่าการขยายเชิงปริมาณ 6. ส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษา มากขึ้น 7. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ 8. พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้
9
การประเมิน PISA การประเมินสมรรถนะของนักเรียนอายุ 15 ปี
การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ผลการประเมิน เด็กจีนมีขีดความสามารถสูงในทั้ง 3 ด้าน มีคะแนนเฉลี่ยสูงถึง 75% ติดอันดับ 1 ของโลก อันดับ 2 สิงคโปร์ มีคะแนนเฉลี่ย 63% ส่วนเด็กอเมริกันมีมีคะแนน เฉลี่ยเพียง 32% เด็กไทยมีความสามารถต่ำเป็นลำดับที่ 50 โดยมีเด็ก นักเรียนเพียง 8% ที่มา : นิตยสาร Newsweek มาตรฐาน OECD
10
ผลการทดสอบด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ ๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๕
รายวิชา คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ยคะแนน 1 ความรู้พื้นฐานทั่วไป 100 31.90 2 ความรู้วิชาชีพพื้นฐานประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชาเครื่องกล 300 88.48 3 อุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ 90.82 4 ความรู้วิชาชีพพื้นฐาน ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 126.47 5 อุตสาหกรรมท่องเที่ยว 136.82
11
แนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาอาชีวศึกษาสู่สากล
กําหนดเกณฑ์มาตรฐานซึ่งอิงกับการทำงาน (Work base learning) กำหนดกรอบหลักสูตรฐานสมรรถนะให้เชื่อมโยง กับกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ (National Qualification Framework : NQF) การสอนจากสถานประกอบการจริง ทำความ ร่วมมือกับสถานประกอบการ
12
การดำเนินการในแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (2557-2560) ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ปรับภาพลักษณ์การเรียนอาชีวศึกษา (Re - Branding) ด้วยการประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ของนักเรียนอาชีวศึกษาในเชิงบวกให้สังคมได้รับทราบ ด้านความร่วมมือ สนับสนุนให้สถานศึกษาเปิดการเรียนการ สอนสองภาษา เช่น ความร่วมมือกับสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดการเรียน การสอนในสองรูปแบบ - รูปแบบ - รูปแบบ 2 + 2
13
การดำเนินการในแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (2557-2560) ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
โครงการแลกเปลี่ยนความร่วมมือด้านการศึกษา เพื่อศึกษาระบบและรูปแบบการจัดการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น และ สหราชอาณาจักรอังกฤษ พัฒนาหลักสูตรสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน ในสาขาที่มีความต้องการของสถานประกอบการ อาทิเช่น สาขาวิชาเทคโนโลยีรางรวมกับต่างประเทศ ขยายโครงการความร่วมมือทางด้านทวิภาคีกับสถาน ประกอบการ อาทิเช่น บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) เพื่อ เพิ่มจำนวนนักเรียนนักศึกษาในอัตราส่วน 51 ต่อ 49
14
ด้านผู้เรียน สนับสนุนให้นักเรียนนักศึกษาในกลุ่มประเทศอาเซียน เข้ามาศึกษาต่อด้านอาชีวศึกษาในประเทศไทย โดยจะทำการแก้ไขกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการรับนักเรียนนักศึกษา สช. จัดทำโครงการยกระดับภาษาต่างประเทศให้กับ นักเรียนนักศึกษาในช่วงปิดภาคเรียน (โครงการนำร่อง เดือนตุลาคม 2556) โดยจัดเป็นค่ายภาษาอังกฤษ
15
ด้านผู้สอน สถานศึกษาต้องพัฒนาครูผู้สอนด้านอาชีวศึกษา โดยให้ครูต้องปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการมาก่อนจึงจะสามารถสอนในวิชาดังกล่าวได้ หรือให้ครูผู้สอนเข้าฝึกงานในสถานประกอบการจริงช่วงปิดภาคเรียน สช. มีโครงการอุดหนุนพัฒนาศักยภาพครูภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ โดย มีแผนยกระดับคะแนนผล การทดสอบ V-NET ให้สูงขึ้นร้อยละ 4 ในปีการศึกษา 2557
16
ด้านสถานศึกษา สช. มีโครงการยกระดับมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ในปีการศึกษา 2557 ให้ได้ครบทุกสถานศึกษา สช.ให้การสนับสนุนงบลงทุนเงินกู้ดอกเบี้ย ราคาถูก (อัตราร้อยละ 4) วงเงินงบประมาณ 543,951, บาท ในการจัดซื้อหรือจัดหาอุปกรณ์และเครื่องมือประกอบการสอน การก่อสร้างอาคารเรียน โรงฝึกงาน
17
แนวทางการดำเนินงาน.......การเพิ่มคุณภาพการศึกษาเอกชน
1. คุณภาพการสอนวิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ต้องสื่อสารภาษาอังกฤษได้ 2. คุณภาพการสอนวิชาภาษาไทย นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ต้องอ่านคล่อง เขียนคล่อง เป้าหมาย ปีการศึกษา 2556 3. คุณภาพการสอนวิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนต้องมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงขึ้น 4. คุณภาพกระบวนการคิด โรงเรียนต้องให้ความสำคัญกับ การพัฒนานักเรียนให้มีกระบวนการคิดได้อย่างถูกต้อง และสร้างสรรค์โดยการนำนวัตกรรมการสอนที่เหมาะสม มาปรับใช้ 5. คุณภาพทักษะชีวิต โรงเรียนต้องให้ความสำคัญกับการ เสริมสร้างทักษะชีวิตนักเรียน ด้วยการบูรณาการ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ โดย...ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
18
แนวทางการดำเนินงาน.......การเพิ่มคุณภาพการศึกษาเอกชน
6. คุณภาพโรงเรียนอาชีวศึกษา นักเรียนที่จบ การศึกษาทุกสาขาและประสงค์จะทำงาน ต้องมีงานทำ เป้าหมาย ปีการศึกษา 2556 7. คุณภาพโรงเรียนนานาชาติ ทุกโรงเรียนต้อง ได้รับการรับรองจากสถาบันรับรอง มาตรฐานสากล 8. คุณภาพโรงเรียนนอกระบบ ทุกโรงเรียนต้องมี การจัดทำระบบการประกันคุณภาพภายใน โดย...ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
19
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.