ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เกณฑ์การประเมินของ สกว.
ตัวชี้วัด 1. equivalent intl. journal publication / faculty member(07-08) 2. journal impact factor / faculty member(JCR./TCI 08) 3. equivalent intl. journal publication / discipline(07-08) 4. journal impact / discipline(JCR/TCI 08)
2
การกำหนดน้ำหนัก ตีพิมพ์ฐาน SCI ของ ISI เท่ากับ 1.00
วารสารระดับชาติ ตามเกณฑ์ สกอ. เท่ากับ 0.50 วารสารระดับสถาบันหรือตีพิมพ์ต่อเนื่อง มี IF เฉลี่ยย้อนหลัง ๓ ปี ไม่ต่ำกว่า 0.01 (จากฐาน TCI 05-07) จะเท่ากับ 0.25 หากมีค่า IF ไม่ต่ำกว่า 0.01 และไม่เท่ากับ 0 ให้มีค่าน้ำหนักเท่ากับ 0.125
3
proceedings การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานในรายงานการประชุมที่เผยแพร่เป็นรูปเล่มแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. ระดับนานาชาติ ที่เป็น full paper ได้ค่าน้ำหนัก 0.25 ๒. ระดับชาติ จัดโดยสมาคม/สถาบันที่เป็นนิติบุคคลมากกว่า ๑ แห่งขึ้นไป ได้ค่าน้ำหนัก 0.125 ส่งได้ไม่เกิน ๒ เท่าของผลรวมของจำนวนบทความที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการนานาชาติที่มีน้ำหนัก 1.00 และ 0.75 รวมกับวารสารระดับชาติที่มีน้ำหนัก 0.50
4
การสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งด้วนการวิจัย
สกว. สนับสนุนงบประมาณตามระดับการประเมิน ๑. rating 5.4 สนับสนุนสาขาวิชาละ บาท ๒. rating สนับสนุนสาขาวิชาละ 40,000 บาท ๓. rating 2,1 สนับสนุนสาขาวิชาละ 30,000 บาท
5
ประเด็นที่เสนอพิจารณา
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ควรประเมินในกลุ่มสาขาแพทย์ศาสตร์ สาขากายภาพบำบัด ควรแยกจากสาขาวิชาชีพเวชกรรม การนำหน่วยงานที่มีสาขาวิชาและหน้าที่ที่แตกต่างกันมาประเมินร่วมกันทำไม่ให้สามารถนำผลการประเมินไปใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ การใช้ Citation แทน JIF ระยะ ๕ ปี (04-08)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.