งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชื่อเรื่อง การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่มีผลต่อ พฤติกรรม และความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนในจังหวัดสระบุรี ผู้วีจัย ธนวรรณ นุ่มอยู่ นาย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชื่อเรื่อง การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่มีผลต่อ พฤติกรรม และความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนในจังหวัดสระบุรี ผู้วีจัย ธนวรรณ นุ่มอยู่ นาย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ชื่อเรื่อง การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่มีผลต่อ พฤติกรรม และความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนในจังหวัดสระบุรี ผู้วีจัย ธนวรรณ นุ่มอยู่ นาย คำประเสีด แก้วมะนี สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา รุ่นที่ 11 รหัสนักศืกษา

2 I วัตถุประสงค์ในการวิจัย
1. เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในจังหวัดสระบุรี 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการกู้เงินกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในจังหวัดสระบุรี 3. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในจังหวัดสระบุรี 4. เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 5. เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของสมาชิกกองทุน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 6. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการกู้เงินกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมือง

3 กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมการกู้เงินกองทุนหมู่บ้าน 1. เพศ และชุมชนเมือง 2. อายุ สาเหตุที่กู้เงิน 3. สถานภาพ การใช้เงินตามวัตถุประสงค์ 4. การศึกษา การนำเงินไปประกอบอาชีพ 5. อาชีพ รายได้หลังการกู้เงิน 6. รายได้

4 ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตด้านประชากร การวิจัยครั้งนี้ได้กำหนดขอบเขตในการวิจัย คือกลุ่มประชากรทั้งเพศชาย เพศหญิง ในเขตจังหวัดสระบุรีที่เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ซึ่งมีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 95,101 คน ที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 7 อำเภอ คือ อำเภอเมืองสระบุรี อำเภอแก่งคอย อำเภอหนองแค อำเภอวิหารแดง อำเภอมวกเหล็ก อำเภอเสาไห้ อำเภอพระพุทธบาทซึ่งมีจำนวนสมาชิก 61,690 คน คิดเป็นกลุ่มตัวอย่าง 400 คน(ซึ่งใน 7 อำเภอจะมีจำนวนสมาชิกกองทุนมากกว่าอำเภออื่น ๆ เพื่อการศึกษาจะได้มีความแตกต่าง)

5 บทที่ 2 เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1 ข้อมูลกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 1.1 นโยบายกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 1.2 ประวัติการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองจังหวัดสระบุรี 1.3 ระเบียบกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองจังหวัดสระบุรี 1.4 ข้อมูลเกี่ยวกับจังหวัดสระบุรี 2. แนวคิดที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการ 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ 2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เงิน

6 3. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3. 1 ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการ 3
3. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการ 3.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 4. วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 5 แหล่งที่มาของกองทุน 5.1กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้ 5.2 เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้หรือเงินที่ได้จากงบประมาณ รายจ่ายประจำปี 5.3เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู ้บริจาคหรือมอบให้แก่กองทุน 5.4ดอกผลหรือผลประโยชน์ที่เกิดจากเงินกองทุน

7 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ศึกษาในการวิจัย คือ ประชาชนที่เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในจังหวัดสระบุรี ซึ่งมีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 95,101 คน ที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 7 อำเภอ คือ อำเภอเมืองสระบุรี อำเภอแก่งคอย อำเภอหนองแค อำเภอวิหารแดง อำเภอมวกเหล็ก อำเภอเสาไห้ อำเภอพระพุทธบาท ซึ่งมีจำนวนสมาชิก 61,690 คน คิดเป็นกลุ่มตัวอย่าง 400 คน

8 2. กลุ่มตัวอย่าง ขนาดของกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้ คำนวณโดยหลักการคำนวณของ Taro Yamane’s (จิราภา แสนเกษม และคณะ : 82-83) กำหนดให้มีความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างที่ยอมให้เกิด 0.05 หรือ ร้อยละ 5 ดังสูตรต่อไปนี้ N n = 1 + Ne2 n = ขนาดของจำนวนตัวอย่าง N = จำนวนรวมทั้งหมดของประชากรที่ใช้ในการศึกษา E = ความผิดพลาดที่ยอมรับได้ ( = 0.05)

9 แทนค่าสมาชิกกองทุนในเขตจังหวัดสระบุรี 95,101 = 1 + [95,101(0
แทนค่าสมาชิกกองทุนในเขตจังหวัดสระบุรี 95,101 = 1 + [95,101(0.05)2] = คน

10 ຂອບໃຈ ຫຼາຍໆ


ดาวน์โหลด ppt ชื่อเรื่อง การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่มีผลต่อ พฤติกรรม และความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนในจังหวัดสระบุรี ผู้วีจัย ธนวรรณ นุ่มอยู่ นาย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google