ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด
เอกสารประกอบการประชุม การเตรียมความพร้อมเพื่อให้มีการทบทวนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด 21 – 22 ธ.ค. 48
2
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน
ยุทธศาสตร์จังหวัดลำปาง “Green & Clean & Ceramic มุ่งมั่นพัฒนาจังหวัดลำปาง ภายใต้ความร่วมมือของทุกภาคส่วนให้เป็นเมืองน่าอยู่ เมืองน่าเที่ยว ควบคู่กับการเป็นเมืองเซรามิกแห่งประเทศไทยและอาเซียน” การพัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่ การพัฒนาให้เป็นเมืองน่าเที่ยว การพัฒนาให้เป็นเมืองเซรามิก ยุทธศาสตร์จังหวัดแม่ฮ่องสอน “เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ รักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มบทบาทการค้าชายแดน ดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต” การขจัดปัญหาความยากจน การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ การพัฒนาเศรษฐกิจและการแข่งขัน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การค้าชายแดนและความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน การบริหารจัดการที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดเชียงราย “ประตูทองของวัฒนธรรมล้านนา และการค้าสากล” การขจัดความยากจน พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต ดำรงฐานวัฒนธรรมล้านนาและความเข้มแข็งให้กับกระบวนการประชาสังคม สร้างความเข้มแข็งให้กับภาคเกษตรอุตสาหกรรม หัตถอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับฐานเศรษฐกิจเดิมอย่างยั่งยืน ดำรงความเป็นฐานทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ และจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี พัฒนาให้เป็นประตูการค้าการลงทุนเชื่อมโยงกับต่างประเทศ การส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การรักษาความมั่นคงของรัฐ ยุทธศาสตร์จังหวัดพะเยา “เป็นเมืองน่าอยู่ ประชาชนมีรายได้พอเพียงกับรายจ่ายที่จำเป็น มีโอกาสพัฒนาตนเองให้อยู่ดีมีสุข ชุมฃนเข้มแข็ง พึ่งตนเองด้” การแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ เมืองน่าอยู่ และการพัฒนาที่ยั่งยืน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาทุนทางสังคม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน) “ ประตูทองสู่การค้าโลก โดดเด่นวัฒนธรรมล้านนา น่าอยู่ทุกที่” สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่ที่มีศักยภาพและโอกาสการแข่งขันในระดับนานาชาติ พัฒนาให้เป็นประตูการค้า การลงทุน และศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงกลุ่มประเทศ GMS BIMSTEC และประเทศอื่น ๆ สร้างความเข้มแข็งให้กับภาคการเกษตร อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับฐานเศรษฐกิจเดิมได้อย่างยั่งยืน พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต ดำรงฐานวัฒนธรรมและทุนทางสังคมของล้านนา ดำรงความเป็นฐานทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดเชียงใหม่ “นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง” การพัฒนาเชียงใหม่ให้เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของภูมิภาค ลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) การพัฒนาส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตและบริการใหม่บนพื้นฐานของวัฒนธรรมและเศรษฐกิจฐานความรู้ การพัฒนาการประกอบการหัตถอุตสาหกรรมบนพื้นฐานของวัฒนธรรมเดิม เชื่อมโยงวัฒนธรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง แข่งขันได้และยั่งยืน การพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวที่แข่งขันได้และยั่งยืน การพัฒนาการเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่ม แข่งขันได้อย่างยั่งยืน การอนุรักษ์ สืบสาน ถ่ายทอด พัฒนาและเฝ้าระวังวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมประชาชน ดำรงความเป็นฐานทรัพยากรธรรมชาติ โดยฟื้นฟูและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การเสริมสร้างความมั่นคงของชีวิตและสังคม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมถึงการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชน เพื่อสร้างสังคมที่มีคุณภาพ และการพัฒนาที่ยั่งยืน การแก้ไขปัญหาความยากจน โดยใช้แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทั้งพัฒนาการบริการด้านสังคมที่จำเป็นต่อการสร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ รวมถึงโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระดับครัวเรือนและชุมชน การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม การพัฒนาการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดลำพูน “เมืองโบราณ ก้าวล้ำการเกษตร เขตอุตสาหกรรมภาคเหนือ” การพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาการเกษตร การพัฒนาสังคม วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1. ท่องเที่ยว (เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน แม่ฮ่องสอน) 2. OTOP/SMEs (เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่) 3. การค้าและการลงทุน (เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน แม่ฮ่องสอน) 4. เกษตร (เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน ลำพูน) ยุทธศาสตร์จังหวัดแพร่ “เมืองไม้สัก วิถีชีวิตวัฒนธรรมล้านนา ภูมิภาคท้องถิ่นสู่มาตรฐานสากล” การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน แก้ไขปัญหาความยากจนและกระจายรายได้ การพัฒนาที่ยั่งยืน การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดน่าน “เมืองน่าอยู่ มีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพยั่งยืน มีการพัฒนาโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อประโชน์สุขของประชาชนชาวน่าน” การบริหารจัดการและการบริการ การพัฒนาเศรษฐกิจ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย 2
3
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง (2.1)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์) “ศูนย์กลางบริการสี่แยกอินโดจีน” การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้รองรับการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมการท่องเที่ยวและบริการ การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์จังหวัดตาก “บ้านเมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน ชุมชนเข้มแข็ง ขจัดความยากไร้ ใส่ใจทรัพยากรสิ่งแวดล้อม พร้อมส่งเสริมการท่องเที่ยว” บ้านเมืองน่าอยู่ ส่งเสริมการค้าชายแดน เสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง ขจัดปัญหาความยากจน เสริมสร้างความมั่นคงชายแดน พัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และส่งเสริมการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์จังหวัดพิษณุโลก “เมืองบริการ สี่แยกอินโดจีน” ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการบริการด้านการขนส่งสินค้าและผู้โดยสาร ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ของภาคเหนือตอนล่าง ส่งเสริมการบริการด้านสุขภาพให้เป็นศูนย์บริการแก่ประชาชนในกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง โดยพัฒนามาตรฐานการบริการให้เป็นสากล และให้เป็นจังหวัดที่ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง (Healthy Province) ส่งเสริมให้ภาครัฐและเอกชนมีการปรับปรุงให้บริการให้มีคุณภาพ และอยู่ในระดับมาตรฐาน ให้ประชาชนและพนักงานมีหัวใจแห่งการบริการ (Service Mind) ในฐานะเจ้าบ้านที่ดี พัฒนาการบริหารจัดการ การผลิตสินค้าเกษตรที่เชื่อมโยงการตลาดและการแปรรูป ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการประชุมภายในประเทศ และเสริมสร้างกิจกรรมการท่องเที่ยว กีฬา และวิชาการ ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สะอาด สวยงาม เป็นเอกลักษณ์ และมีความปลอดภัย ยุทธศาสตร์จังหวัดเพชรบูรณ์ “ดินแดนแห่งความสุขของคนอยู่ และผู้มาเยือน” พัฒนาเพื่อเป็นดินแดนแห่งความสุขด้วยการฟื้นฟูระบบนิเวศ พัฒนาให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี พัฒนาให้เป็นเมืองท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ยุทธศาสตร์จังหวัดสุโขทัย “เมืองแห่งมรดกโลก ท่องเที่ยวประทับใจ” การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การแก้ไขปัญหาความยากจน การส่งเสริมการท่องเที่ยวและสินค้า OTOP การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การบริหารจัดการภาครัฐที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์ “แดนฝัน เมืองมหัศจรรย์แห่งผลไม้” พัฒนากระบวนการผลิต การบริหารจัดการการตลาดด้านผลไม้ การพัฒนาคุณภาพชีวิต การพัฒนาการค้าชายแดน การส่งเสริมการท่องเที่ยว การส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 1. Logistics (พิษณุโลก) 2. เกษตร (เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์) 3. ท่องเที่ยว (สุโขทัย ตาก)
4
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง (2.2)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (นตรสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร) “เป็นศูนย์ธุรกิจข้าวชั้นนำของ ประเทศไทย” การเพิ่มผลผลิตข้าว การเพิ่มมูลค่า การพัฒนาการตลาดและระบบบริหารจัดการขนส่ง การพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์จังหวัดนครสรรค์ “ศูนย์กลางธุรกรรมข้าวของ ประเทศไทย” การแก้ไขปัญหาความยากจน การพัฒนาคนและสังคมอย่างมีคุณภาพ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเชิงเศรษฐกิจ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม การรักษาความมั่นคงของรัฐ การรองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตโลก ยุทธศาสตร์จังหวัดอุทัยธานี “เกษตรปลอดภัย รายได้มั่นคง แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ มรดกโลก ห้วยขาแข้ง สู่สากล” พัฒนาด้านการเกษตรให้มีประสิทธิภาพและเพิ่มมูลค่า เพิ่มศักยภาพและพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการและการแข่งขัน ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เร่งฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาคุณภาพคนและการคุ้มครองทางสังคม ยุทธศาสตร์จังหวัดกำแพงเพชร “เมืองน่าอยู่ มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตภาคการเกษตรให้เป็นระบบการผลิตที่มีผลิตภาพและเป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยทางอาหาร (GAP) ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและเชิงประวัติศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน เสริมสร้างสังคมที่น่าอยู่ ยุทธศาสตร์จังหวัดพิจิตร “ดินแดนแห่งการผลิต แปรรูป และค้าข้าวชั้นนำของประเทศ” การแก้ปัญหาความยากจนและกระจายรายได้ การผลิต แปรรูป และการค้าข้าว เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาทุนทางสังคม การพัฒนาที่ยั่งยืน การแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. เกษตร (นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร) 2. ท่องเที่ยว (อุทัยธานี)
5
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน (3.1)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง) “เป็นแหล่งสร้างสรรค์และนำองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและวัฒนธรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ควบคู่กับการเป็นศูนย์เชื่อมโยงคมนาคม เพื่อกระจายสินค้าและบริการสู่ทุกภูมิภาค” การปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมรูปแบบดั้งเดิมทางการเกษตรอุตสาหกรรมไปสู่ Knowledge based Industry การเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และมรดกโลกทางวัฒนธรรม การเป็นศูนย์กลางความเป็นเลิศด้านการผลิตแห่งอนาคต (Excellent Center For Future Manufacturing) ศูนย์เชื่อมโยงการคมนาคมเพื่อกระจายสินค้าและบริการภาคต่าง ๆ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ยุทธศาสตร์จังหวัดนนทบุรี “ที่อยู่อาศัยชั้นดีของคนทุกระดับ พร้อมสรรพบริการที่ได้มาตรฐาน” การพัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่อาศัยชั้นดี การพัฒนาธุรกิจภาคบริการให้ได้มาตรฐาน ยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี “เป็นศูนย์กลางการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยี เสริมสร้างความเข้มแข็งวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” การบูรณาการระหว่างสถาบันการศึกษาและวิจัย จังหวัดปทุมธานีเป็นเมืองน่าอยู่ มีวิสาหกิจขนาดกลาง/ขนาดย่อม (SMEs) และวิสาหกิจชุมชนที่เข้มแข็ง มีความสามารถในการแข่งขัน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงการเรียนรู้แบบบูรณาการ ยุทธศาสตร์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา “เป็นนครแห่งการท่องเที่ยวมรดกโลกทางวัฒนธรรม แหล่งอาหารที่มีคุณภาพ เป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนและอุตสาหกรรมการลงทุนที่ใช้เทคโนโลยีสะอาด เมืองน่าอยู่ ประชาชนอยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน” รักษาและใช้ประโยชน์จากมรดกทางวัฒนธรรมในการเพิ่มมูลค่าทางด้านการท่องเที่ยว อาศัยความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ระบบชลประทานที่ดี และเทคโนโลยีในการพัฒนาแหล่งอาหารที่มีคุณภาพ ใช้ศักยภาพของการเป็นศูนย์กลางการคมนาคมให้เอื้อประโยชน์ต่อการค้าการลงทุนและอุตสาหกรรม สร้างสภาพแวดล้อมของเมือง/ชุมชนให้น่าอยู่ และเอื้อต่อการพัฒนา การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์จังหวัดอ่างทอง “เมืองอู่ข้าว อู่น้ำ ศูนย์กลางการเกษตรอินทรีย์ ปลอดภัยสารพิษ โด่งดังหัตถกรรม อุตสาหกรรมดินเผา แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และวัฒนธรรมภาคกลาง” การแก้ไขปัญหาความยากจน การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว การพัฒนาคนและสังคมที่สมดุล การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน การส่งเสริมการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารจัดการของภาครัฐและภาคเอกชนที่มีประสิทธิภาพ 1. ท่องเที่ยว (อยุธยา) 2. เมืองศูนย์กลางการศึกษา และพัฒนาเทคโนโลยี (ปทุมธานี) 3. เกษตร/OTOP (อ่างทอง) 4. Logistics (นนทบุรี)
6
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน (3.2)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) “เป็นแหล่งผลิตและรวบรวมสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง มีแหล่งท่องเที่ยว และเป็นศูนย์บริการคมนาคมทางบกที่ได้มาตรฐาน บนพื้นฐานคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน” ศูนย์กลางการส่งเสริมการผลิตในระบบฟาร์มที่ทันสมัย (Modern Farm) ปรับเปลี่ยนการส่งเสริมอาชีพภาคเกษตรเพื่อสร้างผลตอบแทนที่มีมูลค่าสูง การสร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้าหลัก พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และการท่องเที่ยวสมัยใหม่ พัฒนาเป็นศูนย์กลางบริการขนส่งและพาณิชยกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท “เมืองเกษตรมาตรฐาน สืบสานคุณภาพชีวิต” การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การสร้างโอกาสและกระจายรายได้ การเพิ่มศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เสริมสร้างและพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง ส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ เสริมสร้างและเปิดโอกาสไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและอุบัติภัย การรักษาความสงบเรียบร้อย ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ การบริการ และ IT ยุทธศาสตร์จังหวัดลพบุรี “เป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยจากสารพิษ ศูนย์การศึกษา แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เมืองแห่งคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืน” การส่งเสริมการผลิตและจำหน่ายอาหารปลอดภัย การแก้ไขปัญหาความยากจน การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมการท่องเที่ยว การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างสังคมที่มีคุณภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี การสร้างความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน การสร้างสมดุลของการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การบริหารจัดการองค์กรทุกภาคส่วนตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์จังหวัดสระบุรี “เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง เป็นแหล่งผลิตและรวบรวมสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก เป็นเส้นทางเชื่อมโยงสำคัญสู่ภาคอีสานและชายฝั่งทะเลตะวันออก” เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง เซรามิค และผลิตภัณฑ์ชุมชน พัฒนาการการผลิตภาคเกษตร เป็นแหล่งผลิตและรวบรวมสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (Niche Market) การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาองค์กรและบุคลากรภาครัฐสู่การบริหารจัดการที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดสิงห์บุรี “เมืองร่มเย็น แหล่งผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์” เพื่อสร้างผลตอบแทนที่มีมูลค่าสูง พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ และการท่องเที่ยวเชิงเกษตรกร พัฒนาระบบโครงสร้างทางสังคมและทุนทางสังคม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้าหลัก ขจัดความยากจน เสริมสร้างขีดความสามารถในการผลิตภาคเกษตรให้มีมาตรฐานและปลอดภัย อนุรักษ์ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. เกษตร (ชัยนาท สระบุรี สิงห์บุรี ลพบุรี) 2. ท่องเที่ยว (ลพบุรี สิงห์บุรี สระบุรี) 3. อุตสาหกรรม (สระบุรี)
7
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง (4.1)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (กาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี) “มุ่งเป็นฐานการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรอุตสาหรรมสู่ชายแดนด้านตะวันตกนานาชาติ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ คุณภาพชีวิตและการพัฒนาที่ยั่งยืน” มุ่งเป็นฐานการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรอุตสาหกรรมด้วยระบบการผลิตที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมสู่ชายแดนด้านตะวันตกและนานาชาติ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ยกระดับคุณภาพชีวิตและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พัฒนาการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม การรักษาความมั่นคงชายแดน ยุทธศาสตร์จังหวัดกาญจนบุรี “เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรและเกษตรอุตสาหกรรม ประตูการค้าสู่ชายแดนด้านตะวันตก ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและการพัฒนาที่ยั่งยืน” การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการผลิตสินค้าเกษตรและเกษตรอุตสาหกรรมที่ปลอดภัย พัฒนาศักยภาพด้านการลงทุนและการค้าชายแดน การพัฒนาคุณภาพชีวิต สังคมฐานความรู้และสิ่งแวดล้อมให้เป็นเมืองน่าอยู่ การพัฒนาการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดนครปฐม “แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย สินค้าเกษตรอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เชิงสุขภาพ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต และการพัฒนาที่ยั่งยืน” เป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยและสินค้าเกษตรอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงสุขภาพ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตและการพัฒนาที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร์จังหวัดราชบุรี “สร้างผลผลิตสู่สากล สร้างสภาพชุมชนเพื่อชีวิต” ราชบุรีเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตร เกษตรอุตสาหกรรมที่ปลอดภัยจากสารพิษ พัฒนาสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นสินค้าส่งออก ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวิถีชุมชน พัฒนาและส่งเสริมการลงทุนด้าน BOI SMEs และ OTOP ยกระดับคุณภาพชีวิตและการแก้ไขปัญหาสังคม พัฒนาการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม การรักษาความมั่นคงชายแดน ยุทธศาสตร์จังหวัดสุพรรณบุรี “จังหวัดชั้นนำในด้านแหล่งผลิตอาหาร และผลิตภัณฑ์คุณภาพมาตรฐานสู่สากล เป็นศูนย์กลางการศึกษา การกีฬาและการท่องเที่ยวโดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน” การพัฒนาคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรและการแปรรูป รวมทั้งผลิตภัณฑ์ (เพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อการส่งออก) การเสริมสร้างและพัฒนาการท่องเที่ยว การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การยกระดับคุณภาพชีวิตและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การขยายฐานโอกาสและคุณภาพในการศึกษาทุกระดับให้ตรงกับความต้องการ การส่งเสริมให้กีฬาอยู่ในหัวใจชาวสุพรรณบุรี และมีความสามารถด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศในระดับชาติ การนำการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารและการบริการเพื่อประโยชน์ของประชาชน 1. เกษตร (นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี) 2. ท่องเที่ยว (กาญจนบุรี สุพรรณบุรี) 3. การค้าชายแดน (กาญจนบุรี)
8
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง (4.2)
ยุทธศาสตร์จังหวัดเพชรบุรี “เพชรบุรีเมืองประวัติศาสตร์ที่มีชีวิตน่าอยู่และน่าเที่ยว เป็นสถานที่ประชุมสัมมนา นันทนาการ หลากหลายรูปแบบ เป็นแหล่งผลิตผลผลิตทางการเกษตร ประมง อาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษ และอุตสาหกรรมที่ไม่เป็นภัยต่อสภาพแวดล้อม” การทำให้เพชรบุรีสวย สะอาด ปลอดภัย ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนได้รับบริการที่ดีจากรัฐ การพัฒนาให้เป็นเมืองท่องเที่ยว สถานที่ประชุมสัมมนา นันทนาการหลากหลายรูปแบบ การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ประมง และอาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษเพื่อการส่งออกและบริโภคภายในประเทศ ส่งเสริมอุตสาหกรรม SMEs และ OTOP ยุทธศาสตร์จังหวัดสมุทรสงคราม “เป็นเมืองแห่งอาหารทะเลและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ ศูนย์กลางการพักผ่อนและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางลำคลองระดับชาติ ดินแดนประชารักถิ่นกำเนิด อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมดีงาม” การพัฒนาและส่งเสริมจังหวัดให้เป็นเมืองอาหารทะเลและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ การพัฒนาให้จังหวัดเป็นศูนย์กลางพักผ่อนและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางลำคลอง การปลูกจิตสำนึกให้ชาวจังหวัดสมุทรสงครามรักถิ่นกำเนิด อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมดีงาม การดำรงรักษาความเป็นเมืองที่มีระบบนิเวศน์ 3 น้ำ ยุทธศาสตร์จังหวัดสุมุทรสาคร “เป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารทะเลเพื่อความเป็นหนึ่งในฐานะครัวของโลก เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่อาศัย” การเป็นครัวของโลกในด้านอาหารทะเลและการเกษตร การเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ การพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เป็นเมืองที่น่าอยู่อาศัย การพัฒนาระบบบริหารงานให้มีความเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ประจวบคีรีขันธ์ เพชรุบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร) “เป็นกลุ่มจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางการผลิตและแปรรูปสินค้าประมงและเกษตร เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และเป็นเส้นทางคมนาคมที่สำคัญสู่ภาคใต้ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่ยั่งยืน” การพัฒนากลุ่มจังหวัดให้เป็นศูนย์กลางการผลิตและแปรรูปสินค้าประมง เกษตร และเหล็ก การเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การพัฒนาสภาพแวดล้อมชายฝั่ง และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ดี การพัฒนาระบบบริหารงานให้มีความเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ “เป็นเมืองหลวงการผลิตและแปรรูปสับปะรดส่งออก เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเหล็กที่ได้มาตรฐาเพื่อตอบสนองตลาดภายในประเทศ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำหรับครอบครัวและสุขภาพ” ทำประจวบคีรีขันธ์ให้เหมาะแก่การเป็นเมืองท่องเที่ยวสำหรับครอบครัวและสุขภาพ พัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการผลิตและแปรรูปสับปะรดและมะพร้าวที่ได้มาตรฐานการส่งออก พัฒนาสังคมและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน พัฒนาสภาพแวดล้อมชายฝั่งและสิ่งแวดล้อมเมือง การเพิ่มขีดความสามารถของการพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กและพัฒนาระบบการขนถ่ายสินค้า (Logistic) 1. เกษตร (สุมทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์) 2. ท่องเที่ยว (เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร) 8
9
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง (4.3)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปราจีนบุรี สระแก้ว และ นครนายก) “แหล่งรองรับการขยายตัวของเมืองหลวงและสนามบินสุวรรณภูมิ ศูนย์กลางการแพทย์แผนไทยและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ระดับชาติและนานาชาติ ศูนย์กลาง Logistics เชื่อมโยงเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมสู่ตลาดโลก เปิดประตูสู่อินโดจีน” พัฒนาเมืองให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย น่าอยู่ รองรับการขยายตัวของเมืองหลวงและสนามบินสุวรรณภูมิ เพิ่มศักยภาพการผลิตและขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมสู่ตลาดโลก เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาไปสู่การเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ เสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน เพิ่มประสิทธิภาพระบบ Logistics และพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง ยุทธศาสตร์จังหวัดฉะเชิงเทรา “เป็นเมืองน่าอยู่คู่เมืองหลวง เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม ศุนย์กลางการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ และแหล่งผลิตอุตสาหกรรมสู่ตลาดโลก” วางผังเมืองรองรับการขยายตัวของเมืองหลวงและสนามบินสุวรรณภูมิอย่างมีศักยภาพ ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและเกษตรอุตสาหกรรมปลอดภัยจากสารพิษและอุตสาหกรรมสู่ตลาดโลก เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและกระจายสินค้าสู่ตลาดโลก การสนับสนุนการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ยุทธศาสตร์จังหวัดสระแก้ว “เมืองงามแดนบูรพาน่าอยู่ ประตู่สู่อินโดจีน ถิ่นอุตสาหกรรมการเกษตร เขตท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์” เมืองงามชายแดนบูรพาน่าอยู่ ประตูสู่อินโดจีน ถิ่นอุตสาหกรรมการเกษตร เขตท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ยุทธศาสตร์จังหวัดปราจีนบุรี “ปราจีนบุรีเมืองน่าอยู่ เชิดชูท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เกษตรและอุตสาหกรรมก้าวหน้า ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย” บ้านเมืองน่าอยู่ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรก้าวหน้า อุตสาหกรรมก้าวหน้า ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย ยุทธศาสตร์จังหวัดสมุทรปราการ “ศูนย์กลาง Logistics เพื่อการส่งออกสินค้าเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม เป็นเมืองอุตสาหกรรมหลักของชาติ สะอาด น่าอยู่และเป็นแหล่งรองรับการขยายตัวของสนามบินสุวรรณภูมิ” ศูนย์กลาง Logistics ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์กลางอุตสาหกรรมต่อเนื่องและเชื่อมโยงสู่ตลาดโลก แหล่งรองรับการขยายตัวของสนามบินสุวรรณภูมิ ประเด็นยุทธศาสตร์รองรับยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง (การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ/แพทย์แผนไทย/เกษตรสู่มาตรฐาน) การแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์จังหวัดนครนายก “เป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ระดับโลกและน่าอยู่ เมืองใหม่ตามมาตรฐานผังเมืองสูงล้ำยุค เพิ่มเศรษฐกิจแก่ประชาชน อนุรักษ์พื้นฟูธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมควบคู่การพัฒนา การเกษตรก้าวหน้าสู่สากล และเป็นสังคมฐานความรู้" เมืองท่องเที่ยวเชิงนิเวศระดับโลก เมืองน่าอยู่ การเกษตรก้าวหน้าสู่สากล สังคมฐานความรู้ 1. Logistics และอุตสาหกรรม (สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา) 2. เกษตรปลอดภัย (ฉะเชิงเทรา สระแก้ว) 3. ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ (ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว) 4. แพทย์แผนไทย (ปราจีนบุรี นครนายก) 9
10
กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก (5.1)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (จันทบุรี ชลบุรี ระยอง ตราด) “เป็นผู้นำการลงทุนด้านอุตสาหกรรม เป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกผลไม้ ควบคู่ไปกับการเป็นดินแดนแห่งความหลากหลายของการท่องเที่ยวในระดับนานาชาติ” การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมและพลังงานของอาเซียน ควบคู่ไปกับการพัฒนาที่ยั่งยืน การสร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้าเกษตร และผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวหลักของแต่ละจังหวัดกับแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ การเป็นพันธมิตรกับภูมิภาคอินโดจีน ยุทธศาสตร์จังหวัดจันทบุรี “เป็นศูนย์กลางการค้าอัญมณี การผลิตและการส่งออกผลไม้คุณภาพ ดินแดนท่องเที่ยวหลากหลาย เมืองเศรษฐกิจชายแดน ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี” พัฒนาสินค้าเกษตรคุณภาพ พัฒนาการท่องเที่ยว ขยายตัวการค้าและการท่องเที่ยวสู่ภูมิภาคอินโดจีน วิจัยและพัฒนา อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับ เสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดชลบุรี “เป็นเมืองท่าการส่งออกชั้นนำของโลกศูนย์กลางการท่องเที่ยวนานาชาติครบวงจร ผู้นำการลงทุนด้านอุตสาหกรรม” เสริมสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของจังหวัดและของประเทศ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนควบคู่กับการฟื้นฟู อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาจังหวัด พัฒนาระบบการให้บริการประชาชนแบบครบวงจรที่มีคุณภาพมาตรฐาน ยุทธศาสตร์จังหวัดระยอง “เป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรม ศูนย์กลางด้านเกษตรกรรมและการท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐาน” การเป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรมและพลังงานของภูมิภาค ควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร เช่น ผลไม้หลัก ได้แก่ ทุเรียน มังคุด และผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวหลักกับแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพในเชิงพาณิชย์ ยุทธศาสตร์จังหวัดตราด “เมืองสวรรค์แห่งตะวันออก ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และเป็นพันธมิตรทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างยั่งยืน" ด้านคุณภาพชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านการเกษตร ด้านการท่องเที่ยว ด้านการค้าชายแดน 1. ท่องเที่ยว (ชลบุรี จันทบุรี ตราด) 2. เกษตรแปรรูป (จันทบุรี ระยอง ตราด) 3. การค้าชายแดน (ตราด จันทบุรี)
11
กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (6.1)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (หนองคาย หนองบัวลำภู เลย อุดรธานี) “แหล่งพำนักแห่งที่สองของนักลงทุนและนักท่องเที่ยว” การเกษตร การฟื้นฟูระบบนิเวศ การค้า การลงทุน การท่องเที่ยว OTOP & SMEs เสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดหนองคาย “เมืองน่าอยู่ ควบคู่การศึกษา วัฒนธรรมล้ำค่า เกษตรอุตสาหกรรมหลากหลาย ขยายเศรษฐกิจการค้าสู่อินโดจีน พัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน” ด้านการเกษตร ด้านฟื้นฟูระบบนิเวศ ด้านการค้า การลงทุน ด้านการท่องเที่ยว ด้าน OTOP และ SMEs ยุทธศาสตร์จังหวัดหนองบัวลำภู “เป็นเมืองน่าอยู่ เคียงคู่รู้ค่าธรรมชาติ ประชาชนชาญฉลาดทำกิน ในดินแดนสันติสุข” เคียงคู่รู้ค่าธรรมชาติ ชาญฉลาดทำกิน ดินแดนสันติสุข ยุทธศาสตร์จังหวัดเลย “เมืองในฝันของนักท่องเที่ยวและ นักลงทุน ภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” เกษตร ฟื้นฟูระบบนิเวศ การค้าชายแดน OTOP การท่องเที่ยว สังคมและคุณภาพชีวิต ความมั่นคงชายแดน ยุทธศาสตร์จังหวัดอุดรธานี “เมืองน่าอยู่ ศูนย์กลางการค้า การบริการ เกษตรอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวมรดกโลก" การเกษตร การฟื้นฟูระบบนิเวศ การค้า การลงทุน เสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดี 1. เกษตรอินทรีย์ (หนองคาย หนองบัวลำภู เลย อุดรธานี) 2. ท่องเที่ยว (เลย อุดรธานี) 3. การค้าชายแดน (หนองคาย)
12
กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (6.2)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (สกลนคร นครพนม มุกดาหาร กาฬสินธ์) “สะพาน การค้า และ การท่องเที่ยว อินโดจีน” การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาการท่องเที่ยว การพัฒนาการค้าชายแดน การพัฒนาการเกษตร และอุตสาหกรรมเกษตร ยุทธศาสตร์จังหวัดสกลนคร “ก้าวไปสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ ควบคู่การเป็นศูนย์กลางพัฒนาทรัพยากรมนุษย์” การพัฒนาการเกษตรและเกษตรอุตสาหกรรม การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดนครพนม “เมืองน่าอยู่ คู่สัมพันธ์อินโดจีน” การแก้ไขปัญหาสังคมและความเดือดร้อนของประชาชน บ้านเมืองน่าอยู่ การเตรียมความพร้อมแก่สังคม เพื่อให้ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ การเสริมสร้างความมั่นคงของชีวิตและสังคม การพัฒนาระบบราชการ การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดมุกดาหาร “เมืองการค้าและการท่องเที่ยว ชายโขง ณ ประตูตะวันออกสู่ อินโดจีน” การขจัดความยากจน การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสังคมกับประเทศเพื่อนบ้าน เสริมสร้างระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม การรักษาความมั่นคงชายแดน ยุทธศาสตร์จังหวัดกาฬสินธุ์ “มุ่งเป็นแหล่งผลิตอาหารคุณภาพปลอดภัยชั้นนำของภาคอีสาน ภายในปี 2550 ด้วยการทำเกษตรที่ดี การเป็นเมืองน่าอยู่และเป็นเมืองเรียนรู้" การพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาการท่องเที่ยว การพัฒนาธุรกิจการค้า 1. การค้าชายแดน (นครพนม มุกดาหาร) 2. เกษตร (กาฬสินธุ์) 3. OTOP (สกลนคร นครพนม)
13
กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (6.3)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม) “ศูนย์กลางการค้าการลงทุน และการบริการ ในภูมิภาค สู่สากล” รวบรวมและกระจายสินค้าในภูมิภาค สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม ปรับโครงสร้างการผลิตและการตลาด การพัฒนาทุนมนุษย์ การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์จังหวัดร้อยเอ็ด “มุ่งเป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายข้าวหอมมะลิชั้นดีสู่ตลาดโลก ควบคู่ไปกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวและพัฒนาคุณภาพฝีมือแรงงานเพื่อสร้างรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน” การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการจำหน่ายข้าวหอมมะลิชั้นดีสู่ตลาดโลก การเพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้ภาคการท่องเที่ยว การเพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้จากภาคบริการแรงงาน การดำเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายพื้นฐานของรัฐและนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ยุทธศาสตร์จังหวัดขอนแก่น “เมืองน่าอยู่ ศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้าการลงทุน การบริการและการคมนาคมขนส่ง ในภูมิภาคสู่สากล” การขจัดความยากจน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคมที่มีคุณภาพ การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาระบบบริหารงานที่ดี การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม การรักษาความมั่นคง ยุทธศาสตร์จังหวัดมหาสารคาม “เมืองการศึกษา พัฒนาทรัพยากรบุคคล แหล่งผลิตผลเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ และผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ชั้นนำ" การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้และศูนย์กลางวัฒนธรรม ส่งเสริมให้เป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายสินค้าเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ ส่งเสริมสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนให้สามารถแข่งขันได้ การเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง 1. Logistics (ขอนแก่น) 2. เกษตร (ร้อยเอ็ด มหาสารคาม)
14
กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (7.1)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์) “ประตูอีสานสู่สากล” การพัฒนาเกษตรและแปรรูปสินค้าการเกษตรส่งออก การพัฒนาคุณภาพและผลิตภัณฑ์ผ้าไหม การพัฒนาการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยภูมิ “มุ่งสู่เศรษฐกิจการเกษตร อุตสาหกรรมสิ่งทอ ชูธงการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน” การฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานราก พัฒนาเศรษฐกิจการเกษตร การพัฒนาการลงทุน ภูมิใจเมืองชัยภูมิ ยุทธศาสตร์จังหวัดนครรราชสีมา “ประตูสู่อีสาน ศูนย์กลางการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์ การแปรรูปสินค้าเกษตรและการท่องเที่ยว” การพัฒนาการเกษตรและแปรรูปสินค้าการเกษตรส่งออก การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไหมไทย การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์ การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การแก้ไขปัญหาสังคมและความเดือดร้อนของประชาชน การบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ การแก้ปัญหาเฉพาะพื้นที่ ยุทธศาสตร์จังหวัดบุรีรัมย์ “เป็นสังคมเกษตรที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีบ้านเมืองน่าอยู่ และเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางอารยธรรมขอม” สังคมเกษตรที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี บ้านเมืองน่าอยู่ การท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์จังหวัดสุรินทร์ “เกษตรอินทรีย์เป็นเลิศ เปิดประตู สู่อินโดจีน" การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว การพัฒนาไหมสุรินทร์ พลังงานทดแทนที่ยั่งยืน การฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน 1. การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ผ้าไหม (ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์) 2. เกษตรและเกษตรแปรรูปเพื่อการส่งออก (นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์)
15
กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (7.2)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ยโสธร ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี) “ประชาสังคมเข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิต ข้าวหอมมะลิสินค้าเกษตรมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และเป็นพันธมิตรกับประเทศเพื่อนบ้าน” เมืองน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีรายได้สูงขึ้น ผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิจากกลุ่มจังหวัดมีมูลค่าเพิ่มขึ้น ปลอดภัยจากสารพิษ สินค้าเกษตรของกลุ่มจังหวัดมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นจากการแปรรูป ประตูการค้า การคมนาคมและการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน การพัฒนาระบบบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดยโสธร “เป็นเมืองน่าอยู่ นำเกษตรอินทรีย์ สู่สากล” ส่งเสริมการผลิตและการตลาด พัฒนาสังคมและยกระดับคุณภาพชีวิต บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดศรีสะเกษ “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าการท่องเที่ยว สู่ดินแดนขอมโบราณ และการนำผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรอินทรีย์ สู่ครัวโลก” พัฒนาศรีสะเกษเป็นเมืองน่าอยู่ วิถีศรีสะเกษสร้างอาชีพ สร้างรายได้ พัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และสังคมกับประเทศเพื่อนบ้าน วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และหลักธรรมอันดีงาม เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์จังหวัดอำนาจเจริญ “ประชาสังคมเข้มแข็ง แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดี มีโอกาสทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต” การส่งเสริมและสนับสนุนระบอบประชาธิปไตย กระบวนการประชาสังคม และความมั่นคงแห่งรัฐ การพัฒนาการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี มีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมดุล การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมให้มีคุณภาพ ส่งเสริมการประกอบอาชีพ การมีงานทำและแก้ไขปัญหาความยากจน ยุทธศาสตร์จังหวัดอุบลราชธานี “ชุมชนเข้มแข็ง เมืองน่าอยู่ มีประตูการค้าและการท่องเที่ยวสู่เพื่อนบ้าน การเกษตรมีศักยภาพ" ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีรายได้ที่เพียงพอต่อการดำรงชีพ มีสุขอนามัยที่ดี มีความรู้ และอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นเมืองน่าอยู่ ปลอดภัย สภาพแวดล้อมดี ประชาสังคมเข้มแข็ง เป็นแหล่งผลิตสินค้าด้านการเกษตรที่มีศักยภาพ ปลอดภัยจากสารพิษ มีการแปรรูปเพิ่มมูลค่า ข้าวหอมมะลิมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เกษตรกรมีความสามารถจัดการการผลิตและมีรายได้เพิ่ม เป็นประตูการค้า เป็นจุดเชื่อมต่อการคมนาคมทางอากาศ ทางถนน การท่องเที่ยว กับประเทศเพื่อนบ้าน และเป็นพันธมิตรที่ดีต่อกัน การพัฒนาระบบบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1. เกษตรอินทรีย์ (ยโสธร ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี) 2. การค้าชายแดน (ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ) 3. การท่องเที่ยว (อุบลราชธานี ศรีสะเกษ)
16
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบน (8.1)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี) “มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการขนส่งสินค้าเชื่อมโยงประเทศฝั่ง อันดามัน-อ่าวไทย มุ่งสูการเป็นศูนย์กลางส่งออกผลไม้ และมุ่งสู่การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในดินแดนแห่งทะเลไร้มลพิษที่ยั่งยืน” ศูนย์กลางการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศฝั่ง อันดามัน-อ่าวไทย ศูนย์กลางการผลิตและจำหน่ายผลไม้เพื่อการส่งออก ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพที่ยั่งยืนในภูมิภาค การเรียนรู้และพัฒนาระบบราชการเพื่อทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์จังหวัดชุมพร “มุ่งการผลิตและจำหน่ายสินค้าเกษตรครบวงจร นำการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ และเสริมสร้างเมืองน่าอยู่ คู่สังคมที่ น่าอยู่ คู่สังคมที่ยั่งยืน” ขจัดความยากจน การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดระนอง “เป็นศูนย์กลางการขนส่งระหว่างประเทศฝั่งอันดามัน ที่ดำรงไว้ซึ่งการเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่” ศูนย์กลางการขนส่งสินค้าทางทะเลอันดามัน เมืองท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เมืองน่าอยู่ ยุทธศาสตร์จังหวัดสุราษฎร์ธานี “มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง ศูนย์กลางการเกษตรที่มีคุณภาพครบวงจร และผู้นำการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพที่ยั่งยืนในภูมิภาค” การเป็นศูนย์กลางการเกษตรที่มีคุณภาพครบวงจร การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องจากการเกษตร การเป็นผู้นำการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพที่ยั่งยืนในภูมิภาค การเป็นจุดเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมบริเวณภาคใต้ตอนบน การเป็นเมืองน่าอยู่ การเป็นแหล่งศึกษาเพื่อพัฒนาคุณธรรม การเรียนรู้และพัฒนาระบบราชการเพื่อทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 1. เกษตร (ชุมพร สุราษฎร์ธานี) 2. ท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ/สุขภาพ (ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี) 3. Logistics (สุราษฎร์ธานี ระนอง)
17
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบน (8.2)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ตรัง นครศรีธรรมราช พัทลุง) “เป็นศูนย์กลางการผลิต การตลาดภาคเกษตรมุ่งสู่สากล เป็นเอกแห่งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และวัฒนธรรม พร้อมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน” การพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการผลิตการตลาด ภาคเกษตร และ OTOP การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรมควบคู่ไปกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน การพัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพ การพัฒนาระบบบริหารงานให้มีความเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์จังหวัดตรัง “สวรรค์แห่งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ พัฒนาการเกษตรสู่สากล” การพัฒนาการผลิตภาคการเกษตรและ OTOP การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคมให้มีคุณภาพ การเสริมสร้างความเป็นเลิศในการปฏิบัติราชการ ยุทธศาสตร์จังหวัดนครศรีธรรมราช “ เมืองศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ เมืองเกษตรและท่องเที่ยวน่าอยู่ สู่สังคมพัฒนาที่ยั่งยืน การขจัดปัญหาความยากจน การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ การพัฒนาเศรษฐกิจด้านการเกษตร อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาองค์กรและการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี เกษตร/ เกษตรแปรรูป ยุทธศาสตร์จังหวัดพัทลุง “เมืองหลักการเกษตร ก้าวหน้า และยั่งยืน” การเพิ่มขีดความสามารถภาคเกษตรและอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตร พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรมควบคู่ไปกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การแก้ไขปัญหาความยากจน
18
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ (8.3)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (กระบี่ พังงา ภูเก็ต) “ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก เป็นประตูเชื่อมโยงเศรษฐกิจสู่นานาชาติ” การเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก การเป็นประตูเชื่อมโยงเศรษฐกิจสู่นานาชาติ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่ “ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และสุขภาพ แหล่งเกษตรอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน” ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางทะเลเชิงอนุรักษ์และสุขภาพ แหล่งเกษตรอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน คุณภาพชีวิตและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์จังหวัดพังงา “ เป็นมืองท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ชั้นนำของโลกและแหล่งเกษตรกรรมก้าวหน้าฝั่งทะเลอันดามัน” ฟื้นฟูและพัฒนาการท่องเที่ยว การพัฒนาเกษตรกรรม การพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์ การท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก ยุทธศาสตร์จังหวัดภูเก็ต “ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีเอกลักษณ์วัฒนธรรมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืน” ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีเอกลักษณ์ วัฒนธรรม การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาระบบบริหารงานให้มีความเป็นเลิศ
19
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (9.1)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (นราธิวาส ปัตตานี ยะลา) “เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมฮาลาล อิสลามศึกษานานาชาติ การค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านและโลกมุสลิม บนพื้นฐานแห่งคุณภาพชีวิตที่ดีและดินแดนแห่งสันติสุข” การเสริมสร้างความมั่นคง การพัฒนากลุ่มจังหวัดให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล การค้าชายแดนและการท่องเที่ยว การเป็นศูนย์อิสลามศึกษานานาชาติ ยุทธศาสตร์จังหวัดนราธิวาส “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน เป็นดินแดนท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เมืองหลักแหล่งผลิตการเกษตร พัฒนาเป็นกรณีพิเศษด้านการศึกษา และการพัฒนาอื่น ๆ แบบครบวงจร” การรักษาความมั่นคงของเมืองชายแดนและความสงบเรียบร้อย การพัฒนาเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวเมืองชายแดน การพัฒนาให้เป็นแหล่งผลิตทางการเกษตร การพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาด้านอื่น ๆ แบบครบวงจร การแก้ไขปัญหาความยากจน การแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ป้องกันทรัพยากรธรรมชาติและป่าไม้ตามวาระแห่งชาติ ยุทธศาสตร์จังหวัดปัตตานี “ เป็นศูนย์กลางอาหารฮาลาล อิสลามศึกษา บนพื้นฐานคุณภาพชีวิตที่ดี และดินแดนแห่งสันติสุข” อุตสาหกรรมอาหารฮาลาล อิสลามศึกษา การเอาชนะความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญฉลาด การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และธำรงเอกลักษณ์ของท้องถิ่น การเสริมสร้างการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี การเสริมสร้างความปลอดภัยและความมั่นคง ยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา “เมืองน่าอยู่ คู่สันติสุข รุกก้าว ทันโลก” การเสริมสร้างสันติสุข การศึกษานานาชาติ และการจัดการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พัฒนาด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร การแก้ไขปัญหาความยากจน การพัฒนาศูนย์กลางคมนาคมระดับอนุภูมิภาค และการค้าชายแดน การพัฒนาคุณภาพชีวิตและเมืองน่าอยู่ ส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การบริการการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. ศูนย์กลางอาหารฮาลาล (ปัตตานี) 2. เกษตร (ยะลา) 3. การค้าชายแดน (นราธิวาส)
20
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (9.2)
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (สตูล สงขลา) “ศูนย์กลางยางพาราโลก เมืองท่าสองทะเล เมืองธุรกิจการค้า การท่องเที่ยวและการศึกษาของภาคใต้” เป็นศูนย์กลางยางพาราโลก เป็นศูนย์กลางการค้าและบริการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคเอเชีย เป็นเมืองท่องเที่ยวและกีฬาในระดับมาตรฐานสากล เป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ยุทธศาสตร์จังหวัดสตูล “เป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ การเกษตรและเมืองท่าฝั่งอันดามัน บนพื้นฐานการศึกษา การพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ” ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจและการแก้ไขปัญหาความยากจน สังคมที่สงบสุขและพึงปรารถนา การพัฒนาให้เกิดดุลยภาพที่ยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชน มีความเชื่อมโยงกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน การบริหารราชการให้เป็นไปตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีความเชื่อมโยงกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน มีความเชื่อมโยงกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน การปฏิบัติภารกิจอันเป็นแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและนโยบายรัฐ 1. เกษตร (สงขลา) 2. ท่องเที่ยว (สงขลา สตูล) ยุทธศาสตร์จังหวัดสงขลา “ สงขลา 2550 ศูนย์กลางธุรกิจการค้าการบริการและการศึกษาของภาคใต้ บนพื้นฐานความอยู่ดีมีสุขของประชาชน” การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคมให้สงบสุขและพึงปรารถนา การแก้ไขปัญหาความยากจนและความเดือดร้อนของประชาชน การพัฒนาให้เกิดดุลยภาพที่ยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชน การบริหารราชการให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.