ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJaidee Patalung ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน สาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 (งช 401) จัดทำโดย นายสถิตย์ จันทร์น้อย อาจารย์2 ระดับ 7 โรงเรียนท้ายหาด
2
หลักการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. หลักการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ - เก็บข้อมูลเบื้องต้น โดยการศึกษา สังเกต - ตั้งสมมุติฐาน - พัฒนาวิธีการทดสอบสมมติฐาน - ทำการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมติฐาน - วิเคราะห์ผลการทดลอง - เขียนรางงานสรุปการทดลอง
3
2. หลักการแก้ปัญหาตามวิธีการวิศวกรรม มีขั้นตอนดังนี้
- วิเคราะห์ปัญหา เพื่อกำหนดรายละเอียด - สร้างแบบจำลองวิธีการแก้ปัญหา - คำนวณหาคำตอบ - นำผลลัพธ์ที่สมเหตุสมผล ไปใช้งาน 3.วิธีการแก้ปัญหาแบบสร้างสรรค์ - การสังเกตอย่างพินิจวิเคราะห์ - ค้นหาความจริง โดยการรวบรวมข้อมูล - ค้นหาปัญหาแท้จริงคืออะไร - ค้นหาแนวคิด ในการแก้ปัญหา - ค้นหาวิธีแก้ปัญหา ค้นหาวิธีทำที่ทำให้ตนเองและผู้อื่นยอมรับในการใช้วิธีนั้น ๆ
4
4. การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. วิเคราะห์งาน 2. การเขียนแผนผัง 3. การเขียนคำสั่งซูโดโค้ด 4. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5. การทดสอบโปรแกรม 6. การนำไปใช้ 7. การบำรุงรักษา 8. การติดตาม ประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข
5
6.2 การวิเคราะห์งาน ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอนดังนี้ 1. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น สิ่งที่ต้องการ 2. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น ผลลัพธ์ 3. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น ข้อมูลนำเข้า 4. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น ตัวแปร 5. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น วิธีการประมวลผล
6
การเขียนแผนผัง ผังงาน (Floechart) คือ แผนภาพซึ่งแสดงลำดับขั้นตอนของการทำงาน โดยใช้สัญลักษณ์ที่มีความหมายบ่งบอกว่าขั้นตอนนั้น ๆ มีการทำงานแบบใด ถูกเชื่อมโยงโดยลูกศร เพื่อแสดงลำดับขั้นตอนให้เข้าใจง่าย ประโยชน์ของผังงาน 1. ช่วยสามารถทำความเข้าใจลำดับขั้นตอนการทำงานของ โปรแกรมได้รวดเร็ว 2. ช่วยแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน ทำให้เขียนโปรแกรม อย่างเป็นระบบ
7
2. ผังงานโปรแกรม เป็นผังงานที่แสดง ลำดับขั้นการทำงานของโปรแกรมหนึ่ง ๆ
ประเภทของผังงาน 1.ผังงานระบบ เป็นผังงานที่แสดงขอบเขต และลำดับขั้นตอนการทำงานของระบบหนึ่ง ๆ 2. ผังงานโปรแกรม เป็นผังงานที่แสดง ลำดับขั้นการทำงานของโปรแกรมหนึ่ง ๆ ฐานข้อมูล พนักงาน ตัวอย่าง ผังงานระบบ คำนวณเงินเดือน พิมพ์เช็ค
8
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน เป็นการเขียนแผนภาพเพื่อแสดงขั้นตอนการทำงาน โดยนำภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาเรียงต่อกัน เทอร์มินัล แสดงจุดเริ่มต้นการทำงานและจบการทำงาน รับเข้าหรือแสดงผล นำข้อมูลเข้าด้วยมือ การใช้แป้นพิมพ์ หรือ เม้าส์ บัตรเจาะรู แสดงการรับข้อมูลเข้า
9
เทปกระดาษเจาะรู แสดงการรับข้อมูลเข้า
เทปแม่เหล็ก แสดงการรับข้อมมูลเข้า จานแม่เหล็ก แสดงการรับข้อมูลเข้า ดรัมแม่เหล็ก แสดงการรับข้อมูลเข้า แกนแม่เหล็ก แสดงการับข้อมูลเข้า การประมวลผล แสดงการประมวลผล
10
เอกสาร แสดงผลลัพธ์บนกระดาษ
การแสดงผล แสดงผลลัพธ์ในขณะ ที่ยังประมวลผลอยู่ การตัดสินใจ แสดงการตัดสินใจ หรือเปรียบเทียบ การเตรียม แสดงการกำหนดค่าต่าง ๆ ล่วงหน้าในการทำงาน จุดต่อภายในหน้า แสดงจุดต่อเนื่อง ของแผนผังที่อยู่ในหน้าเดียวกัน
11
การอธิบาย การรวม แสดงการนำข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุด ขึ้นไป มารวม เป็นชุดเดียวกัน การแยก แสดงการแยกข้อมูล 1 ชุด ออกเป็นข้อมูลหลาย ๆ ชุด การรวมและการแยก การเรียง แสดงการเรียงลำดับข้อมูล
12
หลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน
1. สัญลักษณ์ที่ใช้มีขนาดต่างกันได้ แต่ต้องมีรูป ร่างสัดส่วนตามมาตรฐาน 2. ทิศทางของลูกศรในผังงาน ควรมีทิศทางจาก บนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวาเสมอ 3. ผังงานควรมีความเรียบร้อย สะอาด การเขียนข้อความใด ๆ ควรทำให้สั้นกะทัดรัด ได้ใจความ
13
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน มี 3 รูปแบบ
1. โครงสร้างแบบเป็นลำดับ (Sequence Structure)
14
2. โครงสร้างแบบมีการเลือก (Selection Structure)
15
3. โครงสร้างแบบทำซ้ำ (Iteration Structure)
16
การเขียนคำสั่งซูโดโค้ด
เป็นการเขียนคำสั่งด้วยภาษาพูด โดยแปลความจากผังงานที่เราสร้างขึ้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายจำเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความชำนาญ หรือเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ นั่นเอง ส่วนภาษาที่ใช้เขียนนั้นมี 3 ประเภท คือ ภาษาเครื่อง ภาษาระดับต่ำ และภาษาระดับสูง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.