ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSolada Sripituksakul ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
การนิเทศการศึกษา หลักการ พัฒนา การโค้ช (Coaching) มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา สร้างความร่วมมือของผู้นำการเปลี่ยนแปลงและเพื่อนร่วมงาน ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความมีเหตุผล คุณค่าและประโยชน์ในการนำไปใช้ ความมั่นใจในการเปลี่ยนแปลงตนเองและองค์กร โค้ช คือ กัลยาณมิตรพัฒนา ผู้ส่งเสริมสะท้อนคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง เปรียบเสมือนกระจกแห่งการเรียนรู้ของครูสู่คุณภาพผู้เรียน
2
วัตถุประสงค์ สะท้อนคิด สรุปความรู้ ปฏิบัติการจริง ได้ฝึกโค้ช
อย่างกัลยาณมิตร วางแผน การโค้ช วัตถุประสงค์ พัฒนาความรู้ ความเข้าใจในการโค้ช แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการโค้ช
3
สร้างแนวคิด วิธีปฏิบัติในการโค้ช
สร้างและขยายเครือข่ายการโค้ช ประโยชน์ ของการโค้ช เป็นกัลยาณมิตรร่วมพัฒนาในสถานศึกษา สร้างสรรค์การคิดพัฒนาตนอย่างสมเหตุสมผล
4
ย้อนรอยแล้วถอดรหัสความรู้เดิม
1. ให้ฝึกถอดรหัสความรู้เดิมได้ วัตถุประสงค์ 2. ตั้งคำถามเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการโค้ช 1. ทราบความรู้เบื้องต้น ผลลัพธ์ 2. ทราบคำถามของผู้ฝึก
5
คำถามจากวิทยากร การโค้ชมีจุดมุ่งหมายอะไร?
ข้อ 1 ผลลัพธ์ที่แสดงถึงความสำเร็จของการโค้ชคืออะไร? ข้อ 2 มีกิจกรรม เทคนิค และวิธีการใดที่ใช้ในการโค้ช? ข้อ 3 ข้อ 4 ประโยชน์ที่ได้จากการโค้ชมีอะไรบ้าง? ข้อ 5 มีคำถามอะไรเกี่ยวกับการโค้ช?
6
สรุป 1. ความไม่สบายใจของตนมีอะไรบ้าง?
1. ความไม่สบายใจของตนมีอะไรบ้าง? 2. ปัญหาและพฤติกรรมที่ต้องแก้ไขเป็นอันดับแรกคืออะไร? 3. ครูควรแก้ปัญหา โดยคิดและทำอะไร? 4. ผลการแก้ไขปัญหาของครูสะท้อนการเปลี่ยนแปลงต่อครู และนักเรียนอย่างไร? 5. อะไรคือความรู้ใหม่ หรือความคิดใหม่ที่ค้นพบ?
7
บทบาทในการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษา
เน้นมาตรฐาน เน้นศักยภาพ ทั่วไป การนิเทศ (Supervision) การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) เฉพาะ การอบรม (Training) การชี้แนะ (Coaching) ความรู้ความเข้าใจ การนำไปใช้
8
ความสำคัญของการ Coaching
ประเภทการพัฒนา ระดับผลกระทบ ความ ตระหนัก ความรู้ ทักษะ การ นำไปใช้ 1. การศึกษาค้นคว้า 2. การให้เห็นแบบอย่างที่ดี 3. การฝึกปฏิบัติ 4. การชี้แนะ (Coaching) การสอน
9
ระดับความรู้ระยะสั้น
วิธีการพัฒนา ระดับความรู้ระยะสั้น ระดับความรู้ระยะยาว 1. ให้ความรู้เชิงทฤษฎี 20% 5% 2. การสาธิต 35% 10% 3. การเน้นแบบอย่าง/แนะวิธีปฏิบัติ 70% 20% 4. การให้ปฏิบัติ 80% 25% 5. การชี้แนะ (Coaching) 90% 90%
10
ชี้แนะในบริบทโรงเรียน
ข้อห้าม สร้างความสัมพันธ์ เสริมพลังอำนาจ ห้ามบอก ทำงานเป็นระบบ ห้ามสอน พัฒนาต่อเนื่อง ห้ามสั่ง หลักการโค้ช ข้อควรปฏิบัติ มีเป้าหมายร่วมกัน ชี้แนะในบริบทโรงเรียน ให้กำลังใจ นำไปใช้ได้จริง จุดประกายความคิด สะท้อนผลการเรียนรู้ ห่วงใยเอื้ออาทร
11
กระบวน การโค้ช ก่อนการโค้ช ระหว่างการโค้ช หลังการโค้ช
ร่วมกันกำหนดจุดเน้นที่ต้องการโค้ช เน้นการเชื่อมโยงความรู้สู่การปฏิบัติ ก่อนการโค้ช เน้นการทำงานเชิงลึก ประเด็นที่เป็นจุดเล็ก ๆ แต่เป็นประโยชน์ กระบวน การโค้ช ศึกษาต้นทุนเดิม ระหว่างการโค้ช ให้ครูประเมินการทำงานของตนเอง ต่อยอดประสบการณ์ ร่วมกันสรุปผลการชี้แนะ หลังการโค้ช วางแผนที่จะกลับมาใหม่ ตกลงร่วมกันในเรื่องอื่น ๆ
12
การให้ข้อมูลย้อนกลับ
เครื่องมือการโค้ช ฉุดดึงครู การรับฟัง การท้าทายให้ทำงาน ผลักดัน การถามคำถามปลายเปิด การให้ข้อมูลย้อนกลับ การสั่ง การสอน การบอก
13
ถ้าจะบอกต้องมีทางเลือก “การโค้ชจะสำเร็จได้ต้องลงมือปฏิบัติจริง”
กลวิธีการโค้ช เดินทีละก้าวกินข้าวทีละคำ จับถูกไม่จับผิด ปัญหาใครคนนั้นต้องแก้ ชมสอง ชี้จุดบกพร่องหนึ่ง ถามโดยไม่หวังคำตอบ ให้การบ้านต้องตามมาตรวจ ถ้าจะบอกต้องมีทางเลือก แกล้งทำเป็นไม่รู้ ฟังให้ถึงที่สุด เรียนรู้ร่วมกัน “การโค้ชจะสำเร็จได้ต้องลงมือปฏิบัติจริง”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.