งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สุรา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สุรา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สุรา

2 การปิดและขีดฆ่าแสตมป์
ชนิดสุรา/อัตราภาษี มูลค่า (ราคาขาย/CIF) การปิดและขีดฆ่าแสตมป์ การขนสุรา (หมวด 3) ม.13, 14, 15, 16 ภาษีสุรา (หมวด 2) สิทธิประโยชน์ทางภาษี ทำสุรา ม.7,7ทวี,7ตรี,8เบญจ,10ทวิ นำเข้า ม.8,8ฉ ม.7ว2, 10, 11, 47(2)(3) ม.8ตรี, 8จัตวา, 9, 47(1) การขายสุรา (หมวด 4) ม.17, 18, 19, 19ทวิ, 20, 21, 22, 23 การทำสุรา (หมวด 1) การนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร (หมวด 1) ม.6 ม. 5, 5ทวิ พ.ร.บ. สุรา 2493 เชื้อสุรา (หมวด 5) ม.24, 25 ม.47(4) รมต. มีอำนาจกำหนดวิธีการ เงื่อนไขและข้อกำหนด เพื่อการปฏิบัติตาม พรบ บทกำหนดโทษ (หมวด 7) ม.30, 31, 32, 32ทวิ, 33, 33ทวิ, 33ตรี, 34, 34ทวิ, 34ตรี, 35, 35ทวิ, 36, 37, 38, 38ทวิ, 39, 40, 40ทวิ, 41, 42, 42ทวิ, 43, 43ทวิ, 44, 44ทวิ, 45, 46 การใช้สุราทำสินค้า (หมวด 3) เบ็ดเตล็ด (หมวด 6) ม.26, 27, 28, 29 ม.12 (น้ำหอม หัวน้ำเชื้อ และน้ำยารักษาโรค) เงินสินบน/รางวัล ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต 300 บาท ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โดย รังสิต กรมขุนชัยนาทนเรนทร ผู้สำเร็จราชการแทน เป็นปีที่ 5 ของรัชกาลปัจจุบัน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (ประกาศเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2493)

3 นิยาม อธิบดี หมายความว่า อธิบดีกรมสรรพสามิตหรือผู้ทำการแทน
สุรา หมายความรวมถึงวัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุราหรือซึ่งดื่มกินไม่ได้ แต่เมื่อได้ผสมกับน้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้ว สามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา เจ้าพนักงานสรรพสามิต หมายความว่า เจ้าพนักงานสรรพสามิตกรมสรรพสามิต ซึ่งอธิบดีแต่งตั้งให้มีอำนาจและหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ สุราแช่ หมายความว่า สุราที่ไม่ได้กลั่นและให้หมายความรวมถึงสุราแช่ที่ได้ผสมกับสุรากลั่นแล้ว แต่ยังมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรีด้วย พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายความว่า เจ้าพนักงานสรรพสามิตและผู้ซึ่งอธิบดีแต่งตั้งให้มีอำนาจและหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ สุรากลั่น หมายความว่า สุราที่ได้กลั่นแล้ว และให้หมายความรวมถึงสุรากลั่นที่ได้ผสมกับสุราแช่แล้ว แต่มีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้าดีกรีด้วย ประกาศกรมฯ เรื่อง แต่งตั้งเจ้าพนักงานสรรพสามิต พนักงานเจ้าหน้าที่และเจ้าพนักงาน ตามกฎหมายว่าด้วยสุรา ยาสูบ และไพ่ ผอ.มจ.1 ภาค พื้นที่และหัวหน้าฝ่าย พื้นที่สาขาและหัวหน้างาน เป็น เจ้าพนักงานสรรพสามิตและพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พ.ร.บ. มาตรา 16 ได้แก่ (1) เจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพสามิต นักวิชาการสรรพสามิต เจ้าพนักงานสรรพสามิต และเจ้าหน้าที่สรรพสามิต (2) นิติกร สำนักกฎหมาย (3) เจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพสามิต เจ้าพนักงานสรรพสามิต และเจ้าหน้าที่สรรพสามิตประจำโรงงานสุรา มาตรา 17 (1) เจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพสามิต นักวิชาการสรรพสามิต เจ้าพนักงานสรรพสามิต (2) เจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพสามิต นักวิชาการสรรพสามิต เจ้าพนักงานสรรพสามิต และเจ้าหน้าที่สรรพสามิต ฝ่ายจัดเก็บภาษี สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่ (3) เจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพสามิต เจ้าหน้าที่ตรวจสรรพสามิต นักวิชาการสรรพสามิต นายตรวจสรรพสามิต และเจ้าพนักงานสรรพสามิต สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขา พนักงานเจ้าหน้าที่ ได้แก่ (1) ผอ.สตป. นักวิชาการสรรพสามิต นักตรวจสอบภาษี และเจ้าหน้าที่สรรพสามิต สตป (2) หัวหน้าส่วนตรวจสอบและปราบปราม นักวิชาการสรรพสามิต นักตรวจสอบภาษี เจ้าพนักงานสรรพสามิต เจ้าหน้าที่สรรพสามิต สสภ. (3) นักวิชาการสรรพสามิต นักตรวจสอบภาษี เจ้าพนักงานสรรพสามิต และเจ้าหน้าที่สรรพสามิต สสพ. และพื้นที่สาขา (6) เจ้าหน้าที่สรรพสามิตประจำโรงงานสุรา พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ควบคุมการปิดแสตมป์ สุรา ตามมาตรา 7 วรรคหนึ่ง และมาตรา 8 วรรคหนึ่ง ข้าราชการระดับ 5 ขึ้นไป ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ที่ สสพ. หรือพื้นที่สาขา เป็ นเจ้าพนักงานสรรพสามิตเพื่อปฏิบัติการ ตามมาตรา 6 ซึ่งขึ้นอยู่กับสรรพสามิตพื้นที่ เชื้อสุรา หมายความว่า แป้งเชื้อสุรา แป้งข้าวหมักหรือเชื้อใด ๆ ซึ่งเมื่อหมักกับวัตถุหรือของเหลวอื่นแล้วสามารถทำให้เกิดแอลกอฮอล์ที่ใช้ทำสุราได้ กฎกระทรวง (ฉ.46) (1) “ชนิดสุราสามทับ” คือสุรากลั่นที่มีแรงแอลกอฮอล์ตั้งแต่ 80 ดีกรีขึ้นไป (2) “ชนิดสุราขาว” คือสุรากลั่นที่ปราศจากเครื่องย้อมหรือสิ่งผสมปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี (3) “ชนิดสุราผสม” คือสุรากลั่นที่ใช้สุราขาวหรือสุราสามทับมาปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี (4) “ชนิดสุราปรุงพิเศษ” คือ สุรากลั่นที่ใช้สุราสามทับมาปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี (5) “ชนิดสุราพิเศษ” คือสุรากลั่นที่ทำขึ้นโดยใช้กรรมวิธีพิเศษ มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี แบ่งเป็น 8 ประเภทคือ (5.1) ประเภทวิสกี้ บรั่นดี รัม ยิน หรือสุราแบบต่างประเทศอย่างอื่น (5.2) ประเภทเกาเหลียง เซี่ยงชุน บุ้นกุ่ยโล่ว หรือสุราแบบจีนอย่างอื่น ชนิด วัตถุดิบ กลั่น เก็บบ่ม บรรจุ วิสกี้ เมล็ดธัญพืช 55-95 ≥2 ปี ≥40 ดีกรี (วิสกี้ผสม ปรุงแต่งจากสุรากลั่นที่เก็บบ่ม ≥ ร้อยละ25 บรั่นดี ผลไม้ต่าง ๆ (ส่วนมากเป็นองุ่น) 60 ≥1 ปี ≥38 ดีกรี รัม ผลิตภัณฑ์จากอ้อย 60-95 ≥40 ดีกรี วอดก้า ≥95 - ยิน ไม่จำกัดวัตถุ กลั่นครั้งสุดท้าย≥95 และมีกลิ่นผลจูนิเปอร์ ลิเคียว ไม่จำกัดวัตถุดิบที่ใช้กับพืชหรือผลไม้หรือสมุนไพร แล้วปรุงแต่งน้ำสุราด้วยน้ำตาลหรือน้ำเชื่อมไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 โดยน้ำหนัก

4 การทำสุรา การทำสุรา ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง วิธีบริหารงานสุรา พ.ศ ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2543 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง วิธีการบริหารงานสุรา พ.ศ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2543 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง วิธีการบริหารงานสุรา พ.ศ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2544 (แช่ชุมชน) ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง วิธีการบริหารงานสุรา พ.ศ (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 21 มกราคม 2546 (กลั่นชุมชน) ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง วิธีการบริหารงานสุรา พ.ศ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 12 กันยายน 2546 (กลั่นชุมชน) ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง วิธีการบริหารงานสุรากลั่นชนิดสุราสามทับ (เอทานอล) เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง พ.ศ ลงวันที่ กันยายน 2550 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง วิธีการบริหารงานสุรากลั่นชนิดสุราสามทับ (เอทานอล) เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง (ฉบับที่ 2) พ.ศ ลงวันที่ 2 มิถุนายน 2554 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง วิธีการบริหารงานสุรากลั่นชนิดสุราสามทับ (เอทานอล) พื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง (ฉบับที่ 3) พ.ศ ลงวันที่ 2 มีนาคม 2555 ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการอนุญาตให้ทำและขายสุรากลั่นชุมชน พ.ศ ลงวันที่ มกราคม 2546 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม รวม 5 ฉบับ ประกาศกรมสรรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการอนุญาตให้ทำและขายสุราแช่ชนิดสุราผลไม้ สุราแช่พื้นเมือง และสุราแช่อื่นนอกจากเบียร์ พ.ศ ลงวันที่ 22 มกราคม 2546 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม รวม 3 ฉบับ ระเบียบกรมสรรพสามิต ว่าด้วยการควบคุมสถานที่ทำสุราชุมชน พ.ศ. 2549 ระเบียบกรมสรรพสามิต ว่าด้วยการควบคุมโรงงานสุรากลั่น พ.ศ. 2533 ระเบียบควบคุมการทำสุราแช่ ระเบียบกรมสรรพสามิต ว่าด้วยการควบคุมโรงงานทำสุราแช่ชนิดเบียร์ที่ทำในราชอาณาจักร พ.ศ. 2526 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาตโรงงานสุรา ลงวันที่ 3 เมษายน 2543 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2552 อื่น ๆ ได้แก่ สัญญาว่าด้วยการอนุญาตให้ทำและขายสุรา

5 การขออนุญาตตั้งโรงงานสุรา/สถานที่ทำสุรา
ประเภทของโรงงานสุรา/สถานที่ทำสุรา 1. สุรากลั่น 1. สุราพิเศษ1 (บางประเภท) วิสกี้ บรั่นดี ยิน 2. สุรากลั่น 1 (ประเภท) สุราขาว สุราผสม สุราปรุงพิเศษ สุราพิเศษ 3. สุราสามทับ 1 (แอลกอฮอล์) 4. สุรากลั่นชุมชน4,5 5. เอทานอล (เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง) 2. สุราแช่ 1. เบียร์ 1 2. สุราแช่ผลไม้ 1 , 3 3. สุราแช่พื้นเมือง2 , 3 ทำจากข้าว ได้แก่ อุ น้ำขาวหรือสาโท ทำจากน้ำตาล ได้แก่ กะแช่หรือน้ำตาลเมา 4. สุราแช่อื่น2 , 3 3 “สุราแช่และผลิตภัณฑ์ หมายความว่า สุราแช่ชนิดสุราผลไม้ สุราแช่พื้นเมือง และผลิตภัณฑ์จากผลผลิตทางการเกษตรที่มีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกิน 15 ดีกรี”

6 คุณสมบัติของผู้ขออนุญาตทำสุราตามวิธีการบริหารงานสุรา ฉบับลงวันที่ 6 ต
คุณสมบัติของผู้ขออนุญาตทำสุราตามวิธีการบริหารงานสุรา ฉบับลงวันที่ 6 ต.ค. 2543 สุรากลั่น สุรากลั่น คือ สุราที่ได้กลั่นแล้ว และให้หมายความรวมถึงสุรากลั่นที่ได้ผสมกับสุราแช่แล้ว แต่มีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้าดีกรี (มาตรา 4) 1. สุราพิเศษ1 (บางประเภท) วิสกี้ บรั่นดี ยิน 1. เป็นบริษัทจำกัดที่จดทะเบียนตามกฎหมายไทย และมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ ห้าสิบเอ็ด 2. มีคุณสมบัติตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาตโรงงานสุรา ลงวันที่ 3 เม.ย. 43 ดังนี้ 2.1 กำลังการผลิตคิดที่ 28 ดีกรี ขั้นต่ำวันละ 30,000 ลิตร 2.2 พื้นที่โรงงานไม่น้อยกว่า 200 ไร่ หากกำลังการผลิตเกินกว่าวันละ 30,000 ลิตร ต้องเพิ่มขนาดพื้นที่มากขึ้นให้สอดคล้องกับกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น 2.3 อยู่ห่างแม่น้ำลำคลองสาธารณะที่ใช้สัญจรทางน้ำตามปกติและคลองชลประทาน ไม่น้อยกว่า 2 กิโลเมตร 2. สุรากลั่น 1 (ประเภท) สุราขาว สุราผสม สุราปรุงพิเศษ สุราพิเศษ 1. เป็นบริษัทจำกัดที่จดทะเบียนตามกฎหมายไทย และมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ ห้าสิบเอ็ด 2. มีคุณสมบัติตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาตโรงงานสุรา ลงวันที่ 3 เม.ย. 43 ดังนี้ 2.1 กำลังการผลิตคิดที่ 28 ดีกรี ขั้นต่ำวันละ 90,000 ลิตร 2.2 พื้นที่โรงงานไม่น้อยกว่า 350 ไร่ หากกำลังการผลิตเกินกว่าวันละ 90,000 ลิตร ต้องเพิ่มขนาดพื้นที่มากขึ้นให้สอดคล้องกับกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น 2.3 อยู่ห่างแม่น้ำลำคลองสาธารณะที่ใช้สัญจรทางน้ำตามปกติและคลองชลประทาน ไม่น้อยกว่า 2 กิโลเมตร 3. สุราสามทับ 1 (แอลกอฮอล์) ทำและขายส่งโดย องค์การสุรา กรมสรรพสามิต

7 คุณสมบัติของผู้ขออนุญาตทำสุราตามวิธีการบริหารงานสุรา ฉบับลงวันที่ 6 ต
คุณสมบัติของผู้ขออนุญาตทำสุราตามวิธีการบริหารงานสุรา ฉบับลงวันที่ 6 ต.ค และ 21 ธ.ค. 2543 สุราแช่ สุราแช่ คือ สุราที่ไม่ได้กลั่นและให้หมายความรวมถึงสุราแช่ที่ได้ผสมกับสุรากลั่นแล้ว แต่ยังมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรี (มาตรา 4) 1. เบียร์1 1. เป็นบริษัทจำกัดที่จดทะเบียนตามกฎหมายไทย และมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบเอ็ด 2. ทุนจดทะเบียนไม่ต่ำกว่า 10 ล้านบาท และมีเงินค่าหุ้นหรือเงินลงทุนที่ชำระแล้วไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท 3. ขนาดโรงเบียร์ 3.1 โรงเบียร์ขนาดใหญ่ ปริมาณการผลิตไม่ต่ำกว่า 10 ล้านลิตรต่อปี 3.2 โรงเบียร์ขนาดเล็ก ประเภทผลิตเพื่อขาย ณ สถานที่ผลิต (Brewpub) ปริมาณการผลิตไม่ต่ำกว่า 100,000 ลิตร แต่ไม่เกิน 1 ล้านลิตรต่อปี 1. เป็นบริษัทจำกัดที่จดทะเบียนตามกฎหมายไทย และมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบเอ็ด 2. เป็นสหกรณ์ หมายเหตุ ไม่มีข้อกำหนดวงเงินลงทุน และขนาดของโรงงาน 2. สุราแช่ผลไม้1 3. สุราแช่พื้นเมือง2 , 3 ทำจากข้าว ได้แก่ อุ น้ำขาวหรือสาโท ทำจากน้ำตาล ได้แก่ กะแช่หรือน้ำตาลเมา 4. สุราแช่อื่น ๆ เป็นสหกรณ์การเกษตร และ ในข้อบังคับของสหกรณ์ต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อทำการผลิตและจำหน่ายสุราด้วย หมายเหตุ ไม่มีข้อกำหนดวงเงินลงทุน และขนาดของโรงงาน

8 คุณสมบัติผู้ขออนุญาตทำและขายสุราแช่และผลิตภัณฑ์
ประกาศกระทรวงฯ ฉบับที่ 3 สุราแช่และผลิตภัณฑ์ หมายความว่า สุราแช่ชนิดสุราผลไม้ สุราแช่พื้นเมือง และผลิตภัณฑ์จากผลผลิตทางการเกษตรที่มีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรี ซึ่งไม่รวมถึงสุราแช่ชนิดเบียร์ ทั้งนี้ สุราแช่และผลิตภัณฑ์ตามหลักเกณฑ์นี้ จะต้องทำขึ้นโดยวิธีการดังต่อไปนี้ 1. นำวัตถุดิบซึ่งเป็นผลไม้ หรือน้ำผลไม้ หรือผลผลิตทางการเกษตรใด ๆ ไปหมักกับเชื้อสุราให้มีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรี 2. กรณีนำสุราแช่ที่ได้ข้างต้น ไปผสมกับสุรากลั่นแล้วมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรี สุราแช่และผลิตภัณฑ์ 1. ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวม ต่ำกว่า 5 แรงม้า หรือ 2. ใช้คนงาน น้อยกว่า 7 คน หรือ 3. ถ้าใช้เครื่องจักรและคนงาน เครื่องจักรต้องมีกำลังรวมต่ำกว่า 5 แรงม้า และคนงานต้องน้อยกว่า 7 คน หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการทำและขายสุรา เป็นสหกรณ์ เป็นกลุ่มบุคคลธรรมดา ผู้มีสัญชาติไทยตามกฎหมายเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน เป็นกลุ่มเกษตรกรที่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ และมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่ที่ สถานที่ทำสุราตั้งอยู่ขณะที่ขออนุญาต เป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่มีผู้ถือหุ้นทุกคนมีสัญชาติไทย และมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่ที่สถานที่ทำสุราตั้งอยู่ขณะที่ขออนุญาต เป็นองค์กรเกษตรกรตามพระราชบัญญัติกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร พ.ศ และมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่ที่สถานที่ทำสุราตั้งอยู่ขณะที่ขออนุญาต คุณสมบัติผู้ขออนุญาต

9 คุณสมบัติผู้ขออนุญาตทำและขายสุรากลั่นชุมชน
ประกาศกระทรวงฯ ฉบับที่ 4 สุรากลั่นชุมชน หมายถึง สุรากลั่นชนิดสุราขาวที่ทำขึ้นโดยวิธีการ ดังนี้ 1. นำวัตถุดิบจำพวกข้าวหรือแป้ง หรือผลไม้ หรือน้ำผลไม้ หรือผลผลิตทางการเกษตรอื่น ๆ ไปหมักกับเชื้อสุราเพื่อให้เกิดแรงแอลกอฮอล์ตามต้องการ 2. นำสุราที่ได้ตาม 1. ไปต้มกลั่นโดยใช้เครื่องต้มกลั่นสุราที่ติดตั้งในสถานที่ทำสุราที่ได้รับอนุญาต สุรากลั่นชุมชน 1. ต้องมีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้าดีกรี แต่ไม่เกินสี่สิบดีกรี 2. ต้องมีปริมาณเมทิลแอลกอฮอล์ ฟูเซลออยล์ เฟอร์ฟิวรัส เอสเทอร์ แอลดีไฮด์ เอทิลคาร์บาเมต วัตถุเจือปนอาหารประเภทกรดเบนโซอิก และสารปนเปื้อนในน้ำสุราโดยเฉพาะสารหนูและตะกั่วไม่เกินมาตรฐานที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำหนด คุณสมบัติสุรากลั่นชุมชน สถานที่ทำสุราต้องมีลักษณะ ดังนี้ 1. ต้องแยกออกจากส่วนที่ใช้อยู่อาศัยโดยชัดเจน 2. ต้องตั้งอยู่ในทำเลและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม 3. ต้องตั้งอยู่ห่างจากแหล่งน้ำสาธารณะไม่น้อยกว่า 100 เมตร 4. ต้องมีระบบบำบัดน้ำเสีย ที่ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม 5. ต้องใช้เครื่องจักรที่มีกำลังรวมต่ำกว่า 5 แรงม้า หรือใช้คนงาน น้อยกว่า 7 คน หรือใช้เครื่องจักรและคนงาน เครื่องจักรต้องมีกำลังรวมต่ำกว่า 5 แรงม้า และคนงานต้องน้อยกว่า 7 คน หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการทำและขายสุรา เป็นสหกรณ์ เป็นกลุ่มบุคคลธรรมดา ผู้มีสัญชาติไทยตามกฎหมายเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน เป็นกลุ่มเกษตรกรที่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ และมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่ที่ สถานที่ทำสุราตั้งอยู่ขณะที่ขออนุญาต เป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่มีผู้ถือหุ้นทุกคนมีสัญชาติไทย และมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่ที่สถานที่ทำสุราตั้งอยู่ขณะที่ขออนุญาต เป็นองค์กรเกษตรกรตามพระราชบัญญัติกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร พ.ศ และมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่ที่สถานที่ทำสุราตั้งอยู่ขณะที่ขออนุญาต คุณสมบัติผู้ขออนุญาต

10 คุณสมบัติผู้ขออนุญาตทำเอทานอล
เอทานอล หมายความว่า สุรากลั่นชนิดสุราสามทับที่มีแรงแอลกอฮอล์ตั้งแต่ 99.5 ดีกรีขึ้นไป เอทานอลแปลงสภาพ หมายความว่า เอทานอลที่ได้ผสมกับน้ำมันเชื้อเพลิง ตามสูตรการแปลงสภาพที่กรมสรรพสามิตกำหนด เอทานอล ต้องเป็นนิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนตามกฎหมายไทย มีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของจำนวนหุ้นทั้งหมด เว้นแต่กรณีผู้ประสงค์จะขออนุญาตดังกล่าว เป็นผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุนตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน คุณสมบัติผู้ขออนุญาต

11 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาต
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาตโรงงานสุรา (ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ลว. 3 เม.ย. 43) หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาต สุรากลั่น คือ สุราที่ได้กลั่นแล้วมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินแปดสิบดีกรี และให้หมายความรวมถึงสุรากลั่นที่ได้ผสมกับสุราแช่แล้วแต่มีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้าดีกรีด้วย โรงงานสุรากลั่น ขนาดโรงงาน 1.1 ประเภทวิสกี้ บรั่นดี ยิน - กำลังการผลิตคิดที่ 28 ดีกรี ขั้นต่ำวันละ 30,000 ลิตร - พื้นที่ไม่น้อยกว่า 200 ไร่ หากกำลังการผลิตเกินกว่าวันละ 30,000 ลิตร จะต้องเพิ่มขนาดพื้นที่มากขึ้นให้สอดคล้องตามกำลังการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น 1.2 ประเภทอื่น - กำลังการผลิตคิดที่ 28 ดีกรี ขึ้นต่ำวันละ 90,000 ลิตร - พื้นที่ไม่น้อยกว่า 350 ไร่ หากกำลังการผลิตเกินกว่าวันละ 90,000 ลิตร จะต้องเพิ่มขนาดพื้นที่มากขึ้นให้สอดคล้องตามกำลังการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น 2. ต้องได้รับอนุญาตทำสุราจากรมสรรพสามิต 3. ต้องใช้วัตถุดิบสำหรับผลิตน้ำสุราภายใจประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 4. ต้องห่างแม่น้ำลำคลองสาธารณะที่ใช้สัญจรทางน้ำตามปกติและคลองชลประทานเป็นระยะทางไม่น้อยกว่า 2 กิโลเมตร 5. การรวบรวมและ/หรือการบำบัดน้ำกากส่าต้องเป็นระบบปิดเพื่อป้องกันกลิ่น 6. ต้องไม่มีการระบายน้ำทิ้งใด ๆ ออกจากพื้นที่ 7. สุราที่ผลิตต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสุรา 8. ต้องมีเครื่องมือตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำสุราตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมประจำโรงงาน 9. ต้องพัฒนาเข้าสู่ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากลภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันที่เริ่มแจ้งประกอบกิจการ

12 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาต
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาตโรงงานสุรา (ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ลว. 3 เม.ย. 43) หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาต สุราแช่ คือ สุราที่ไม่ได้กลั่น และให้หมายความรวมถึงสุราแช่ที่ได้ผสมกับสุรากลั่นแล้วแต่มีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรีด้วย โรงงานสุราแช่ ต้องได้รับอนุญาตทำสุราจากกรมสรรพสามิต 2. ต้องมีการติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์และหรือกระบวนการผลิตที่ถูกสุขลักษณะ 3. การรวบรวมและ/หรือการบำบัดกากของเสียจากการผลิตของโรงงานต้องเป็นระบบปิดเพื่อป้องกันกลิ่น 4. ต้องไม่มีการระบายน้ำทิ้งใด ๆ ออกจากโรงงาน 5. สุราที่ผลิตต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 6. ต้องมีเครื่องมือตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำสุราตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสุราประจำโรงงาน 7. ต้องพัฒนาเข้าสู่ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากลภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันที่เริ่มแจ้งประกอบกิจการ

13 ประเภทโครงการหรือกิจการ หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลว. 16 มิถุนายน 2552 ลำดับที่ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 16 อุตสาหกรรมผลิตสุรา แอลกอฮอล์ รวมทั้งผลิตเบียร์และไวน์ 16.1 อุตสาหกรรมผลิสุรา แอลกอฮอล์ ที่มีกำลังผลิตตั้งแต่ 40,000 ลิตรต่อเดือน (คิดเทียบที่ 28 ดีกรี) ให้เสนอในขั้นอนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 16.2 อุตสาหกรรมผลิตไวน์ ที่มีกำลังผลิตตั้งแต่ 600,000 ลิตรต่อเดือน 16.3 อุตสาหกรรมผลิตเบียร์

14 ขั้นตอนการขออนุญาตตั้งโรงงานสุรา/สถานที่ทำสุรา
เอทานอล 1. ยื่นเรื่องขออนุญาตสร้างโรงงาน/สถานที่ทำสุรา ยื่นขออนุญาตตั้งโรงงานพร้อมเสนอโครงการลงทุนก่อสร้างโรงงานสุรา ต่ออธิบดีกรมสรรพสามิต ยื่นคำขออนุญาตสร้างสถานที่ทำสุราต่อสรรพสามิตพื้นที่ พร้อมด้วยแผนผังแสดงสถานที่ การติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์โดยสังเขป และ แผนผังการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย และหากเข้าข่ายที่ต้องทำการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมต้องแนบรายงานผลกระทบดังกล่าวเพื่อประกอบการพิจารณาด้วย 2. เมื่อสรรพสามิตอนุญาตให้ก่อสร้างแล้ว ต้องดำเนินการขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน และส่งสำเนาคำขอฯ ให้กรมสรรพสามิต 1 ชุด ต้องเริ่มดำเนินการทำสุราภายในระยะเวลาภายใจที่กำหนดในหนังสืออนุญาต ซึ่งต้องไม่เกิน 36 เดือนนับแต่ได้รับหนังสืออนุญาตจากกรมสรรพสามิต ต้องดำเนินการก่อสร้างให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับอนุญาตจากกรมสรรพสามิต 3. เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จ ต้องแจ้งเป็นหนังสือต่อสรรพสามิตพื้นที่ทราบล่วงหน้าก่อนเปิดดำเนินการไม่น้อยกว่า 15 วัน ต้องแจ้งเป็นหนังสือให้กรมสรรพสามิตทราบเพื่อทำการตรวจสอบสภาพโรงงานและระบบต่าง ๆ ก่อนที่จะเปิดดำเนินการ 4. ทำสัญญาว่าด้วยการอนุญาตให้ทำแลขายสุรา ก่อนเปิดดำเนินการทำและขาย ทำสัญญาฯ ก่อนไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนที่จะดำเนินการผลิตและจำหน่าย 5. ขอใบอนุญาตต่าง ๆ ใบอนุญาตทำสุรา ใบอนุญาตทำเชื้อสุรา ใบอนุญาตขายสุราประเภทที่ 2 ใบอนุญาตขายสุราประเภท ที่ 2 หรือประเภทที่ 4 เพดาน ทำ 5,000 บาท ขาย ป.2 5,000 บาท ขาย ป บาท เชื้อสุราโรงงาน 500 บาท ทำสุราสำหรับทำน้ำส้ม 10,000 บาท ทำสุรา 5,000 บาท ทำสุราสำหรับทำน้ำส้ม(โดยวิธีกลั่น/อื่น) 10,000 บาท ขาย 5,000 บาท (ป.2) เชื้อสุรา 500 บาท ทำสุรา กลั่นชุมชน 2,000 บาท แช่ชุมชน 500 บาท ขาย ป บาท / ป บาท เชื้อสุรา 250 บาท

15 เงื่อนไขการทำและขายสุรา
โรงงานสุรา สถานที่ทำสุรา เอทานอล 1. การเสนอกรรมวิธีการทำสุราและการใช้วัตถุดิบ เสนอกรรมวิธีการทำสุราต่ออธิบดีก่อนมีการผลิต ยื่นพร้อมกับการขออนุญาตก่อสร้างสถานที่ทำสุรา ยื่นพร้อมกับการขออนุญาตตั้งโรงงานเอทานอล 2. ส่งตัวอย่างสุรา ส่งตรวจก่อนนำออกจากโรงงานสุรา ส่งตรวจก่อนนำออกจากสถานที่ทำสุรา เก็บตัวอย่างสุราแปลงสภาพ 3. ส่งตัวอย่างภาชนะบรรจุสุราเพื่อตรวจวัดปริมาตร ภาชนะบรรจุสุราต้องได้รับการตรวจรับรองปริมาตร 4. ส่งตัวอย่างฉลากปิดภาชนะบรรจุสุรา เสนออธิบดีพิจารณาให้ความเห็นชอบ เฉพาะสุรากลั่นชุมชน เสนอให้อธิบดีพิจารณาให้ความเห็นชอบ - ฉลากต้องระบุชนิดสุรา ชื่อสุรา ชื่อโรงงานสุรา สถานที่ตั้ง ขนาดบรรจุ ดีกรี วันเดือนปีที่บรรจุ คำเตือนตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉลากต้องระบุชื่อประเภทผลิตภัณฑ์ว่า “สุรากลั่นชุมชน) ชนิดสุราว่าเป็น “สุราขาว” ชื่อสุรา ส่วนประกอบหลัก ดีกรี ปริมาตรสุทธิ วันเดือนปีที่บรรจุ คำเตือนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ชื่อผู้รับอนุญาต สถานที่ตั้ง เครื่องหมายการค้า(ถ้ามี)

16 เงื่อนไขการทำและขายสุรา
โรงงานสุรา สถานที่ทำสุรา เอทานอล 5. ต้องแจ้งราคาขายส่งช่วงสุดท้าย (โรงงาน/สถานที่ทำสุรา) ให้แจ้งพร้อมกับการชำระภาษีตามแบบรายการภาษีสุรา ( สร ) 6. การเสียภาษีและแสตมป์สุรา ให้เสียภาษีทั้งตามมูลค่าและตามปริมาณ จากฐานราคาขายส่งช่วงสุดท้าย หรือกรณีมีราคาฯ ประกาศให้ใช้ราคาประกาศ โดย ให้เสียภาษีก่อนขนออกจากโรงงานสุรา ตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ได้รับงดเว้นไม่เรียกเก็บค่าภาษีสุราสำหรับเอทานอลที่นำไปใช้ทำเชื้อเพลิงโดยปฏิบัติตามกฎกระทรวงว่าด้วยการงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุราสำหรับสุรากลั่นชนิดสุราสามทับ ที่นำไปผสมกับน้ำมันเชื้อเพลิง 7. การขนสุรา ต้องมีใบอนุญาตขนสุรากำกับไปกับการขนสุรา ใช้แบบ ส. 1/43 ต้องมีใบอนุญาตขนสุรากำกับไปกับการขนสุรา ใช้แบบ ส.1/42 ส.1/42 ก. และ ส.1/42 ข. ต้องมีใบอนุญาตขนสุรากำกับไปกับการขนสุราใช้แบบ สอน. 02 8. การทำบัญชี เอกสารหลักฐานต่าง ๆ สุรากลั่น –ระเบียบฯ ควบคุมโรงงานสุรากลั่น พ.ศ. 2533 เบียร์ –ระเบียบฯ ควบคุมโรงงานทำสุราแช่ชนิดเบียร์ พ.ศ และระเบียบฯ ว่าด้วยเครื่องมือวัดปริมาณน้ำสุรา สุราแช่ –ระเบียบควบคุมการทำสุราแช่ ลว. 6 ม.ค และระเบียบฯ ว่าด้วยเครื่องดื่มวัดปริมาณน้ำสุรา ระเบียบฯ ว่าด้วยการควบคุมสถานที่ทำสุราชุมชน พ.ศ. 2549 ระเบียบฯ ว่าด้วยการควบคุมโรงงานสุรากลั่นชนิดสุราสามทับ (เอทานอล) และประกาศฯ เรื่องวิธีการงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุราสำหรับสุรากลั่นชนิดสุราสามทับ (เอทานอล)

17 การตรวจสอบฉลากปิดภาชนะบรรจุสุรา
ความครบถ้วนของข้อความบนฉลากที่ใช้ปิดภาชนะบรรจุสุรา อย่างน้อยต้องมีข้อความเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงการคลังเรื่องวิธีบริหารงานสุรา ข้อความอื่นบนฉลากปิดภาชนะบรรจุสุรา เช่น ต้องไม่มีการบรรยายสรรพคุณ ต้องไม่มีการใช้เครื่องหมายอื่น ๆ หรือข้อความรับรองจากหน่วยงานของรัฐ โดยไม่มีหลักฐานยืนยัน พิจารณาการลอกเลียนแบบฉลากปิดภาชนะบรรจุสุรา ซึ่งฉลากต้องมีความแตกต่างจากฉลากของผู้ได้รับอนุญาตรายอื่นตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป (โดยให้คะแนนรูปภาพและข้อความที่ประกอบร้อยละ 70 ข้อความบนฉลากร้อยละ 20 และพื้นที่ว่างบนฉลากร้อยละ 10)

18 ตัวอย่างฉลากปิดภาชนะบรรจุสุรา (โรงงานสุรา)
ปริมาณที่แสดง (กรัม หรือ มิลลิลิตร) ขนาดความสูง (มิลลิเมตร) ไม่เกิน 50 2 เกิน 50 แต่ไม่เกิน 200 3 เกิน 200 แต่ไม่เกิน 1,000 4 เกิน 1,000 6 ฉลากที่ใช้ต้องมีข้อความที่ชัดเจน ดังนี้ ชนิดสุรา ชื่อสุรา ชื่อโรงงานสุรา สถานที่ตั้งของโรงงานสุรา ขนาดบรรจุ แรงแอลกอฮอล์ วันเดือนปีที่บรรจุ คำเตือนสาธารณสุข “คำเตือน : ห้ามจำหน่ายสุราแก่บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่า 20 ปี บริบูรณ์ : การดื่มสุราทำให้ความสามารถในการขับขี่ยานพาหนะลดลง : บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ ไม่ควรดื่ม” (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สุรา ลงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2552)

19 ตัวอย่างฉลากปิดภาชนะบรรจุสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
ฉลากที่ใช้ต้องมีข้อความที่ชัดเจน ดังนี้ ชื่อประเภทผลิตภัณฑ์ว่า “สุรากลั่นชุมชน” ชนิดสุราว่าเป็น “สุราขาว” ชื่อสุรา ส่วนประกอบหลักหรือวัตถุดิบ ที่ใช้ทำสุรานั้น แรงแอลกอฮอล์ ปริมาตรสุทธิ วันเดือนปีที่ทำหรือผลิต หรือ รหัสรุ่นที่บรรจุ คำเตือนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ชื่อผู้ได้รับอนุญาต และชื่อสถานที่ทำสุรา(ถ้ามี) ที่ตั้งสถานที่ทำสุรา เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียน(ถ้ามี) ปริมาณที่แสดง (กรัม หรือ มิลลิลิตร) ขนาดความสูง (มิลลิเมตร) ไม่เกิน 50 2 เกิน 50 แต่ไม่เกิน 200 3 เกิน 200 แต่ไม่เกิน 1,000 4 เกิน 1,000 6 “คำเตือน : ห้ามจำหน่ายสุราแก่บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่า 20 ปี บริบูรณ์ : การดื่มสุราทำให้ความสามารถในการขับขี่ยานพาหนะลดลง : บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ ไม่ควรดื่ม” (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สุรา ลงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2552)

20 การโอนใบอนุญาตทำและขายสุราชุมชน
ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตและผู้ประสงค์จะรับโอนใบอนุญาต ยื่นเรื่องราวขอโอนและขอรับโอนใบอนุญาตต่อสรรพสามิตพื้นที่ที่สถานที่ทำสุราตั้งอยู่ ตามแบบที่กำหนด ผู้รับโอนใบอนุญาตต้องมีคุณสมบัติตามประกาศกระทรวงการคลังเรื่องวิธีการบริหารงานสุรา (สุราชุมชน) เมื่อพิจารณาแล้วเห็นผู้ประสงค์จะรับโอนเป็นผู้สมควรได้รับใบอนุญาต ก็ให้มีคำสั่งอนุมัติการโอนและรับโอนใบอนุญาตนั้น โดยให้มีผลบังคับใช้เมื่อผู้โอนและผู้รับโอนได้ทำสัญญาโอนสิทธิและหน้าที่ต่าง ๆ กับกรมสรรพสามิตแล้ว ตามแบบที่กำหนด

21 การนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร (ประกาศกรมฯ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขว่าด้วยการขออนุญาตและการออกใบอนุญาตให้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2534) ต้องเป็นสุราที่ผลิตในต่างประเทศ และ ต้องยื่นคำขออนุญาตก่อนนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร การนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อการค้า 1) การนำเข้าสุราแช่ประเภทไวน์ - ต้องเป็นผู้ได้รับอนุญาตขายสุราประเภทที่ 1 - ฉลากปิดภาชนะบรรจุสุราต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมฯ แล้ว (โดยฉลากต้องมีข้อความเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ระบุชื่อและที่ตั้งสถานประกอบการค้าของผู้ขอรับใบอนุญาต ชื่อสินค้า แรงแอลกอฮอล์ ขนาดภาชนะ และชื่อและสถานที่ตั้งของผู้ผลิตสุรา) 2) การนำเข้าสุราอื่นนอกจากไวน์ - ต้องเป็นผู้ได้รับอนุญาตขายสุราประเภท ที่ 1 - เป็นตัวแทนจำหน่ายสุราที่นำเข้าแต่เพียงผู้เดียว - ฉลากปิดภาชนะบรรจุสุรา ต้องได้รับความอนุมัติ (โดยฉลากต้องมีข้อความเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ระบุชื่อและที่ตั้งสถานประกอบการค้าของผู้ขอรับใบอนุญาต ชื่อสินค้า แรงแอลกอฮอล์ ขนาดภาชนะ และชื่อและสถานที่ตั้งของผู้ผลิตสุรา) เพดาน ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร 1,000 บาท (เก็บจริง เพื่อการค้า 1,000 บาท มิใช่เพื่อการค้า 250 บาท

22 การนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร (ประกาศกรมฯ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขว่าด้วยการขออนุญาตและการออกใบอนุญาตให้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2534) การนำสุราเข้ามาเพื่อขายในคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากรตามกฎหมายศุลกากร - ต้องเป็นผู้ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร เป็นผู้ได้รับใบอนุญาตขายสุราประเภทที่ 1 และหรือประเภทที่ 3 แล้วแต่กรณี การนำสุราเข้ามาเพื่อนำเข้าในคลังสินค้าทัณฑ์บนตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรโดยมิใช่เพื่อการค้าหรือเป็นตัวอย่างสินค้า และไม่ประสงค์จะขนผ่านด่านศุลกากร ต้องนำสุราเข้ามาทางด่านศุลกากรกรุงเทพมหานครและด่านศุลกากรอื่นตามที่อธิบดีกำหนด (ด่านศุลกากรแหลมฉบัง ด่านศุลกากรหนองคาย ด่านศุลกากรพิบูลมังสาหาร ด่านศุลกากรที่ตังอยู่ในบริเวณท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และด่านศุลกากรอื่นที่อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายพิจารณาอนุมัติเป็นกรณีไป)

23 ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส”
การนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร (ประกาศกรมฯ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขว่าด้วยการขออนุญาตและการออกใบอนุญาตให้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2534) แรงแอลกอฮอล์ของสุราที่นำเข้ามาในราชอาณาจักร - ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำหนด ดีกรีที่ระบุไว้ที่ฉลากปิดภาชนะบรรจุสุรา อาจแตกต่างจากที่ระบุไว้ในใบอนุญาตให้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร หรือไม่ตรงกับที่กรมสรรพสามิตได้อนุมัติฉลากไว้ ดังนี้ สูงได้ไม่เกินกว่า 1 ดีกรี ต่ำได้ไม่เกินกว่า 1 ดีกรี “ทั้งนี้ ให้ใช้มาตรฐานวัดแรงแอลกอฮอล์ของสุราโดยเครื่องมือวัดแรงแอลกอฮอล์ ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส”

24 การนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร (เพื่อเป็นตัวอย่างสินค้าหรือมิใช่เพื่อการค้า)
(ประกาศกรมฯ เรื่อง การนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อเป็นตัวอย่างสินค้าหรือมิใช่เพื่อการค้า) ผ่อนผันให้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักรได้โดยไม่ต้องขอรับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต สุราต้องมีจำนวนไม่เกิน 10 ลิตร สำหรับเพื่อเป็นตัวอย่างหรือมิใช่เพื่อการค้า นำเข้ามาทางด่านศุลกากรในเขตกรุงเทพมหานคร หรือในกรณีนำติดตัวเข้ามาทางด่านศุลกากร ได้แก่ ด่านศุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่ ภูเก็ต หาดใหญ่ ด่านศุลกากรสะเดา ปาดังเบซาร์ สุไหงโก-ลก และด่านศุลกากรที่ตังอยู่ในบริเวณท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สุราตามจำนวนที่กรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ รับรองแล้วว่าเป็นสุราของผู้ได้รับเอกสิทธิตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ต่อองค์การสหประชาชาติ หรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือตามสัญญา หรือตามความตกลงกับต่างประเทศหรือทางการทูตตามหลักถ้อยทีถ้อยอาศัย (เฉพาด่านศุลกากรในเขตกรุงเทพมหานคร หรือด่านศุลกากรที่ตั้งอยู่ในบริเวณท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)

25 การจัดเก็บภาษีสุรา อัตราภาษี
1. ให้เสียในอัตราทั้งตามมูลค่าและตามปริมาณ 2. อัตราภาษีสุรา (บัญชีอัตราภาษีสุราและค่าธรรมเนียม) รายการ อัตรา สุราแช่ ชนิดเบียร์ ตามมูลค่าร้อยละ 60 และ 300 บาทต่อปริมาณหนึ่งลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ และหรือ 30 บาทต่อปริมาณหนึ่งลิตร ชนิดไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น ตามมูลค่าร้อยละ 60 และ 2,000 บาทต่อปริมาณหนึ่งลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ และหรือ 300 บาทต่อปริมาณหนึ่งลิตร ชนิดอื่น ๆ ตามมูลค่าร้อยละ 25 และ 150 บาทต่อปริมาณหนึ่งลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ และหรือ 30 บาทต่อปริมาณหนึ่งลิตร

26 อัตราที่จัดเก็บจริงเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง
การจัดเก็บภาษีสุรา รายการ อัตรา สุรากลั่น ชนิดสุราขาว ตามมูลค่าร้อยละ 50 และ 400 บาทต่อปริมาณหนึ่งลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ และหรือ 60 บาทต่อปริมาณหนึ่งลิตร ชนิดชนิดอื่น อัตราที่จัดเก็บจริงเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง

27 กฎกระทรวง กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุรา พ.ศ. ๒๕๕๖
ตารางสรุปอัตราภาษีสุราสุราแช่ ชนิดสุรา อัตราภาษีตามมูลค่า อัตราภาษีตามปริมาณ อัตราภาษีตามดีกรีที่สูง บาทต่อลิตร ต่อ 100 ดีกรี เงื่อนไข ต่อดีกรี 1. เบียร์ 48 155 8 มากกว่า 7 ดีกรี 3 2. ไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น 36 1000 225 มากกว่า 15 ดีกรี -ราคาขายส่งช่วงสุดท้ายน้อยกว่าหรือเท่ากับ600 -ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย มากกว่า 600 3. สุราแช่อื่นๆ 5 70 10 มากกว่า 15 ดีกรี 4. สุราแช่พื้นเมือง (ราคาตามประกาศ 140 บาท /ลิตร) 5. อุ สาโทหรือน้ำขาว กระแช่หรือน้ำตาลเมา (ราคาตามประกาศ 70 บาท /ลิตร) 6.สุราแช่ชนิดเบียร์โรงเล็ก (Brewpub) (ราคาตามประกาศ 85 บาท /ลิตร) 15

28 กฎกระทรวง กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุรา พ.ศ. ๒๕๕๖
ตารางสรุปอัตราภาษีสุรากลั่น ชนิดสุรา อัตราภาษีตามมูลค่า อัตราภาษีตามปริมาณ อัตราภาษีตามดีกรีที่สูง บาทต่อลิตร ต่อ 100 ดีกรี เงื่อนไข ต่อดีกรี 1. สุรากลั่นชนิด สุราขาว 4 145 40 มากกว่า 40 ดีกรี 3 2. สุรากลั่นชนิดอื่นๆ - สุราผสม - สุราปรุงพิเศษ - สุราพิเศษ 25 250 50 มากกว่า 45 ดีกรี 3. สุรากลั่นชุมชน ราคาตามประกาศกรมฯ 28 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 90 บาท /ลิตร 30 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 100 บาท /ลิตร 35 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 110 บาท /ลิตร 40 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 120 บาท /ลิตร

29 การจัดเก็บภาษีและเงินเพิ่มตามกฎหมายอื่น
เงินเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีสุราตามกฎหมายว่าด้วยสุราเสียภาษีสุรา เพิ่มขึ้นอัตราร้อยละ 10 ของภาษีสุรา (เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง) เงินบำรุงกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยสุราชำระเงินบำรุงกองทุน สสส. ในอัตราร้อยละ 2 ของภาษีสุรา เงินบำรุงองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยสุราชำระเงินบำรุงองค์การฯ ในอัตราร้อยละ 1.5 ของภาษีสุรา

30 การจัดเก็บภาษีสุรา การคำนวณภาษีสุรา
1. การเสียภาษีตามมูลค่า ให้ถือตามราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 2. ภาษีสุราตามมูลค่า ถ้ามีเศษของบาทให้ปัดทิ้ง “ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย” หมายถึง (1) ราคาที่ผู้ได้รับใบอนุญาตทำสุราตามมาตรา 5 (2) ผู้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักรตามมาตรา 6 (3) ผู้ได้รับใบอนุญาตขายประเภทที่ 1หรือผู้ได้รับใบอนุญาตขายประเภทที่ 2 ตามมาตรา 19 ขายสุราให้แก่ผู้ขายปลีก โดยรวมค่าขนส่งหรือค่าบริการอย่างอื่น (ทั้งนี้ ต้องเป็นราคาตามปกติในทางธุรกิจโดยสุจริตและเปิดเผย โดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) การประกาศกำหนดราคาขายส่งช่วงสุดท้าย (มาตรา 8 จัตวา วรรคสอง) 1. ไม่มีราคาขายส่งช่วงสุดท้าย ให้ใช้ราคาขายส่งช่วงสุดท้ายสูงสุดของสุราประเภท ชนิด คุณภาพ อย่างเดียวกัน ที่มีแรงแอลกอฮอล์และปริมาณเท่ากันหรือใกล้เคียงกันของสุราประเภทนั้น ๆ 2. ราคาขายส่งช่วงสุดท้ายมีหลายราคา 2.1 ให้ใช้ราคาขายฯ สูงสุด ของ ป. 1 หรือ ป.2 ซึ่งเป็นราคาที่สามารถอ้างอิงได้ว่าผู้ได้รับใบอนุญาตขายสุราได้ขายสุรานั้น ตามที่ผู้ได้รับใบอนุญาตทำสุราหรือผู้นำเข้า ได้แจ้งชื่อไว้ต่ออธิบดีตามแบบและระยะเวลาที่กำหนด 2.2 ราคาฯ ที่แจ้งไว้ต่ำกว่าราคาขายฯ ของ ป.1 และ ป. 2 รายอื่นนอกจากที่ได้แจ้งชื่อไว้ โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ใช้ราคาขายฯ ของ ป.1 หรือ ป.2 ที่มีราคาสูงสุดในเดือนที่ล่วงมาแล้ว

31 ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย
การจัดเก็บภาษีสุรา การประกาศกำหนดราคาขายส่งช่วงสุดท้าย (มาตรา 8 จัตวา วรรคสาม) “เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีสุรา อธิบดีโดยอนุมัติรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศราคาขายส่งช่วงสุดท้ายของสุราเพื่อถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษีสุรา โดยกำหนดจากราคาขายส่งช่วงสุดท้ายของสุราในตลาดปกติ” รายการ ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย เบียร์ที่ผลิตจากโรงงานเบียร์ขนาดเล็กฯ 85 บาทต่อลิตร สุราแช่ที่ผลิตจากสุราชุมชน (1) อุ สาโท กระแช่ 70 บาทต่อลิตร (2) อื่น (ยกเว้นไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น) 140 บาทต่อลิตร สุราขาวที่ผลิตจากสุราชุมชน (1) 28 ดีกรี 90 บาทต่อลิตร (2) 30 ดีกรี 100 บาทต่อลิตร (3) 35 ดีกรี 110 บาทต่อลิตร (4) 40 ดีกรี 120 บาทต่อลิตร

32 ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย
มูลค่าภาษีสุรา ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย ขนาดภาชนะ / ดีกรี อัตราภาษีตามมูลค่า อัตราภาษีตามปริมาณ

33 (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่สูงกว่า ] + (3)
การคำนวณภาษีสุรา (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) ดีกรี อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน รวมภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่สูงกว่า ] + (3)

34 การคำนวณภาษีสุราแช่ชนิดเบียร์
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุราแช่ชนิดเบียร์ ขนาดภาชนะ ลิตร 5 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 38 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุราแช่ชนิดเบียร์ ตามมูลค่าร้อยละ 48 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร 8 บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 38 บาท x 48 100 = 0.625ลิตร x 5 ดีกรี x 155 = 0.625 ลิตร x 8 บาท = - = ช่อง (1) + (2.2) + (3)

35 การคำนวณภาษีสุราแช่ชนิดเบียร์ กรณี ดีกรีเกินกำหนด
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุราแช่ชนิดเบียร์ ขนาดภาชนะ ลิตร 9 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 38 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุราแช่ชนิดเบียร์ ตามมูลค่าร้อยละ 48 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท กรณีดีกรีเกิน กำหนด (7 ดีกรี) เสียภาษีลิตรละ 3 บาท ต่อ ดีกรี (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 38 บาท x 48 100 = 0.625ลิตร x 7 ดีกรี x 155 = 0.625ลิตร x 8 บาท = 2 ดีกรี x ลิตร x 3 (บาท/ลิตร) = 3.75 = ช่อง (1) + (2.1) + (3) =

36 การคำนวณภาษีไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุราแช่ชนิดไวน์ ขนาดภาชนะ ลิตร 14 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 600 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น ตามมูลค่าร้อยละ 0 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 600 บาท x 0 100 = 0 0.750 ลิตร x 14 ดีกรี x 1000 = 105 0.750 ลิตร x 225 บาท = - = ช่อง (1) + (2.2) 168.75

37 การคำนวณภาษีไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุราแช่ชนิดไวน์ ขนาดภาชนะ ลิตร 14 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 800 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น ตามมูลค่าร้อยละ 36 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 800 บาท x 36 100 = 288 0.750 ลิตร x 14 ดีกรี x 1000 = 105 0.750 ลิตร x 225 บาท = - = ช่อง (1) + (2.2) 456.75

38 การคำนวณภาษีไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุราแช่ชนิดไวน์ ขนาดภาชนะ ลิตร 18 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 600 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น ตามมูลค่าร้อยละ 0 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 600 บาท x 0 100 = 0 0.750 ลิตร x 15 ดีกรี x 1000 = 0.750 ลิตร x 225 บาท = 3 ดีกรี x 0.750 ลิตร x 3 บาท = 6.75 = ช่อง (1) + (2.2) +(3) 175.50

39 การคำนวณภาษีไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุราแช่ชนิดไวน์ ขนาดภาชนะ ลิตร 18 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 800 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น ตามมูลค่าร้อยละ 36 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 800 บาท x 36 100 = 288 0.750 ลิตร x 15 ดีกรี x 1000 = 0.750 ลิตร x 225 บาท = 3 ดีกรี x 0.750 ลิตร x 3 บาท = 6.75 = ช่อง (1) + (2.2) +(3) 463.50

40 การคำนวณภาษีสุรากลั่นชนิดสุราขาว
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุรากลั่น ขนาดภาชนะ ลิตร 40 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 300 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุรากลั่นชนิดสุราขาว ตามมูลค่าร้อยละ 4 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 300 บาท x 4 100 = 0.750 ลิตร x 40 ดีกรี x 145 = 43.5 0.750 ลิตร x 40 บาท = 30 - = ช่อง (1) + (2.1) 55.50

41 การคำนวณภาษีสุรากลั่นชนิดสุราขาว
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุรากลั่น ขนาดภาชนะ ลิตร 45 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 300 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุรากลั่นชนิดสุราขาว ตามมูลค่าร้อยละ 4 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 300 บาท x 4 100 = 0.750 ลิตร x 40 ดีกรี x 145 = 43.5 0.750 ลิตร x 40 บาท = 30 5 ดีกรี x ลิตร x 3 บาท = 11.25 = ช่อง (1) + (2.1) +(3) 66.75

42 การคำนวณภาษีสุรากลั่นชนิดสุราพิเศษ
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุรากลั่น ขนาดภาชนะ ลิตร 45 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 450 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุรากลั่นชนิดสุราพิเศษ ตามมูลค่าร้อยละ 25 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 450 บาท x 25 100 = 0.750 ลิตร x 45 ดีกรี x 250 = 75 0.750 ลิตร x 50 บาท = 37.5 - = ช่อง (1) + (2.1) 187.50

43 การคำนวณภาษีสุรากลั่นชนิดสุราพิเศษ
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุรากลั่น ขนาดภาชนะ ลิตร 50 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย บริษัทฯ แจ้ง 450 บาท กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุรากลั่นชนิดสุราพิเศษ ตามมูลค่าร้อยละ 25 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 450 บาท x 25 100 = 0.750 ลิตร x 45 ดีกรี x 250 = 0.750 ลิตร x 50 บาท = 37.50 5 ดีกรี x ลิตร x 3 บาท = 11.25 = ช่อง (1) + (2.1) +(3) 198.75

44 การคำนวณภาษีสุรากลั่นแช่ชุมชน
28 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 90 บาท /ลิตร 30 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 100 บาท /ลิตร 35 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 110 บาท /ลิตร 40 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 120 บาท /ลิตร ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุรากลั่นชุมชน ขนาดภาชนะ ลิตร 40 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย ที่กรมประกาศ บาท/ลิตร กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุรากลั่นชนิดสุราพิเศษ ตามมูลค่าร้อยละ 4 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 120(0.625)บาท x 4 100 = 3.00 0.625 ลิตร x 40 ดีกรี x 145 = 0.625 ลิตร x 40 บาท = 25.00 - = ช่อง (1) + (2.1) 39.25

45 การคำนวณภาษีสุราแช่พื้นเมือง
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุรากลั่นชุมชน ขนาดภาชนะ ลิตร 15 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย ที่กรมประกาศ บาท/ลิตร กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุราแช่ ตามมูลค่าร้อยละ 5 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 140 บาท /ลิตร (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 140(0.625)บาท x 5 100 = 0.625 ลิตร x 15 ดีกรี x 70 = 0.625 ลิตร x 10 บาท = 6.250 - = ช่อง (1) + (2.1)

46 การคำนวณภาษีสุราแช่ ประเภท อุ สาโทหรือน้ำขาว กระแช่หรือน้ำตาลเมา
ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสุรากลั่นชุมชน ขนาดภาชนะ ลิตร 15 ดีกรี ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย ที่กรมประกาศ 70 บาท/ลิตร กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุราแช่ ตามมูลค่าร้อยละ 5 ตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท ตามปริมาณต่อลิตร บาท ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย 70 บาท /ลิตร (1) ภาษีตามมูลค่า (2) ภาษีตามปริมาณ (3) ภาษีตามปริมาณกรณีดีกรีเกิน (4) รวมภาษี (2.1) ภาษีตามปริมาณต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ) (2.2) ภาษีตามปริมาณต่อลิตร ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย x อัตราภาษีตามมูลค่า (ขนาดภาชนะ (ลิตร) x ดีกรี x อัตราภาษีสุรา) / 100 ขนาดภาชนะ (ลิตร) X อัตราภาษีสุรา ดีกรีที่เกิน X ขนาดภาชนะ (ลิตร) อัตราภาษีสุรา (1) + [(2.1) หรือ (2.2) ที่มากกว่า ] + (3) 70(0.625)บาท x 5 100 = 0.625 ลิตร x 15 ดีกรี x 70 = 0.625 ลิตร x 10 บาท = - = ช่อง (1) + (2.1) 8.4375

47 การจัดทำบัญชีประจำวันและงบเดือน
การจัดทำบัญชีประจำวันและบัญชีงบเดือน ประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 จัดทำบัญชีประจำวันตามแบบ ส.2/80 สำหรับประเภทที่ 3 จัดทำบัญชีประจำวันตามแบบ ส2/80 ก ให้ประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 จัดทำบัญชีงบเดือนตามแบบ ส.2/81 ยื่นต่อเจ้าพนักงานสรรพสามิตภายใน 7 วัน

48 การจัดเก็บภาษีสุรา การจัดเก็บภาษีสุรา
ให้แจ้งราคาขาย ณ โรงงานสุรา กรณีในประเทศ ให้แจ้งตามแบบรายการภาษีสุรา (แบบ สร ) พร้อมการชำระภาษีสุรา กรณีนำเข้า ให้แจ้งตามแบบขอใบอนุญาตนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร (แบบ ส.2/74) พร้อม การขออนุญาตนำเข้า การชำระภาษี สุราในประเทศ ให้ชำระภาษีก่อนขนออกจากโรงงานสุรา ตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง สุรานำเข้า ให้ชำระภาษีพร้อมกับการชำระอากรขาเข้าตามกฎหมายศุลกากร อัตราภาษีสุรา กฎกระทรวงกำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุรา พ.ศ. 2556 กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุราในคลังสินค้าทัณฑ์บนที่ตั้งอยู่ในสนามบินศุลกากร พ.ศ ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2548

49 การจัดเก็บภาษีสุรา การจัดเก็บภาษีสุรา
การเสียภาษีให้ทำกระทำโดยปิดแสตมป์สุรา หรือวิธีอื่น 1) การปิดแสตมป์สุราที่ภาชนะบรรจุสุราในความควบคุมของพนักงานเจ้าหน้าที่ ต้องกระทำภายใต้ความควบคุมของพนักงานเจ้าหน้าที่ สมบูรณ์ต่อเมื่อได้ปิดครบถ้วนตามอัตราและได้ขีดฆ่าแสตมป์นั้นแล้ว 2) การใช้เครื่องมือวัดปริมาณน้ำสุรา จะสมบูรณ์เมื่อมีการ บรรจุภาชนะแล้ว ซึ่งปัจจุบันที่ใช้เครื่องมือวัดปริมาณน้ำ สุราคือ โรงงานเบียร์ และโรงงานสุราแช่ผลไม้ยี่ห้อ Spy โดยผู้ได้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติดังนี้ พิมพ์ข้อความ “ชำระภาษีแล้ว” ด้วยอักษรสีแดง ไว้บนฉลากปิดภาชนะบรรจุขวด หรือบนฝากระป๋องให้เห็นได้ชัดเจน เว้นแต่กรณีบรรจุภาชนะโดยขอยกเว้นภาษี ประทับตรา วัน เดือน ปี ที่บรรจุภาชนะ (เฉพาะเบียร์ต้องประทับตราทั้งวันเดือนปีที่บรรจุภาชนะและที่ควรบริโภคก่อน หรือใช้เครื่องหมายที่กรมฯ ให้ความเห็นชอบ) ปริมาณการสูญเสียตามปกติของเบียร์ระหว่างบรรจุภาชนะ ให้ถือตามปริมาณที่คำนวณได้ แต่ไม่เกินร้อยละ 1.5 ของปริมาณน้ำเบียร์ที่จ่ายไปบรรจุภาชนะ

50 การจัดเก็บภาษีและเงินเพิ่มตามกฎหมายอื่น
เงินเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีสุราตามกฎหมายว่าด้วยสุราเสียภาษีสุรา เพิ่มขึ้นอัตราร้อยละ 10 ของภาษีสุรา (เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง) เงินบำรุงกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยสุราชำระเงินบำรุงกองทุน สสส. ในอัตราร้อยละ 2 ของภาษีสุรา เงินบำรุงองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยสุราชำระเงินบำรุงองค์การฯ ในอัตราร้อยละ 1.5 ของภาษีสุรา

51 สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา
การยกเว้นค่าภาษีสุราสำหรับที่ส่งออกนอกราชอาณาจักร การคืนค่าภาษีสุรา ได้แก่ ส่งสุราออกนอกราชอาณาจักร สุราเสื่อมสภาพตามมาตรา 11 และสุราที่เสื่อมสภาพในโรงงานสุรา การงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุรา ได้แก่ เอทานอลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง สุราที่ไปใช้เป็นวัตถุดิบในการทำสุรา การลดหย่อนค่าภาษีสุรา ได้แก่ สุราที่นำไปใช้ในอุตสาหกรรมทำสุราที่ได้เสียภาษีไว้แล้ว อื่น ๆ ชำระภาษีในอัตราพิเศษ ได้แก่ อัตราภาษีสุราในคลังสินค้าทัณฑ์บนที่ตั้งอยู่ในสนามบินศุลกากร ใช้เพื่ออุตสาหกรรม แปลงสภาพ ทางการแพทย์ วิทยาศาสตร์

52 สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา (การยกเว้นภาษีกรณีส่งสุราที่ผลิตได้ออกนอกราชอาณาจักร)
ส. 2/84 ก ต้องส่งสุราที่ได้ทำขึ้นเองในราชอาณาจักรออกไปนอกราชอาณาจักร ส่งตัวอย่างภาชนะบรรจุสุราและฉลากหรือเครื่องหมายแสดงการยกเว้นภาษีสุราที่จะใช้บรรจุสุราและปิดภาชนะบรรจุสุรา ให้สรรพสามิตพื้นที่ผู้รับผิดชอบพื้นที่ต้นทางเพื่อพิจารณาอนุมัติ ดังนี้ (1) ตัวอย่างภาชนะบรรจุสุรา ชนิดหรือขนาดละ ๑ ตัวอย่าง โดยแจ้งชนิดและขนาดความจุของภาชนะด้วย (2) ตัวอย่างฉลากหรือเครื่องหมายแสดงการยกเว้นภาษีสุรา ซึ่งทำเครื่องหมาย“FOR EXPORT ONLY” หรือ “FOR EXPORT” หรือเครื่องหมายใด ๆ ที่แตกต่างไปจากฉลากปิดภาชนะบรรจุสุราที่ขายในราชอาณาจักรซึ่งกรมสรรพสามิตเห็นชอบแล้ว การบรรจุสุรา ให้ใช้ภาชนะบรรจุสุราและปิดฉลากหรือเครื่องหมายแสดงการยกเว้นภาษีสุรา ทั้งนี้ ตามที่อธิบดีอนุมัติ โดยให้ปิดฉลากหรือเครื่องหมายนั้นที่ภาชนะบรรจุสุรา และให้บรรจุสุราภายใต้การควบคุมของเจ้าพนักงานสรรพสามิต การเก็บสุรา ให้เก็บสุราไว้ ณ สถานที่เก็บที่อธิบดีกำหนด และให้แสดงคำสั่งยกเว้นภาษีสุราต่อเจ้าพนักงานสรรพสามิตเพื่อตรวจสอบ การขนสุราออกจากสถานที่เก็บ ให้แสดงคำสั่งยกเว้นภาษีสุราต่อเจ้าพนักงานสรรพสามิตเพื่อตรวจสอบก่อน และให้ขนสุราตามเส้นทางตามที่ระบุไว้ในคำขอยกเว้นภาษีสุราหรือตามเงื่อนไขในการอนุญาต โดยต้องนำคำสั่งยกเว้นภาษีสุรากำกับไปพร้อมกับสุรานั้นด้วย และเมื่อขนสุราไปถึงปลายทางแล้ว ให้แจ้งเจ้าพนักงานสรรพสามิตผู้รับผิดชอบพื้นที่ปลายทางเพื่อตรวจสอบ เมื่อส่งสุราออกไปนอกราชอาณาจักรแล้ว ให้ทำหนังสือแจ้งต่อเจ้าพนักงานสรรพสามิตต้นทางว่าได้ส่งสุราที่ได้รับยกเว้นภาษีสุราออกไปนอกราชอาณาจักรแล้ว และแสดงคำสั่งยกเว้นภาษีสุราที่ระบุการตรวจสอบตามขั้นตอนของเจ้าพนักงานสรรพสามิต รวมทั้งแจ้งรายละเอียดชนิดและจำนวนสุรา วัน เดือน และปีที่ส่งสุราออกไปนอกราชอาณาจักร และเลขที่ใบขนสินค้าขาออกของกรมศุลกากร และหากปรากฏว่าสุราที่ส่งออกไปนอกราชอาณาจักรนั้นสูญหายหรือขาดจำนวนไปให้เสียภาษีสุราตามชนิดและจำนวนสุราที่สูญหายหรือขาดจำนวนไปตามอัตราที่ใช้บังคับในขณะที่ขนออกจากโรงงานสุรา เว้นแต่จะได้พิสูจน์ให้เป็นที่พอใจอธิบดีได้ว่าการที่สุราสูญหายหรือขาดจำนวนไปเป็นไปตามธรรมชาติ ทั้งนี้ ภายในสามสิบวันนับแต่วันส่งสุราออกไปนอกราชอาณาจักร ในการส่งสุราซึ่งได้รับการยกเว้นภาษีออกไปนอกราชอาณาจักร ให้ทำการขนได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาตขนสุรา กฎกระทรวง กำหนดวิธีการและเงื่อนไขในการขอและการยกเว้นภาษีสุรา การเก็บ และการขนสุรา สำหรับสุราที่ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2555

53 สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา (การคืนค่าภาษี)
ส. 2/84 ข ส.2/84 ค สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา (การคืนค่าภาษี) การส่งสุราออกนอกราชอาณาจักร ต้องเป็นสุราที่ผลิตในประเทศไทย กรณีสุราที่เสียภาษีโดยวิธีการปิดแสตมป์สุรา ให้ทำเครื่องหมาย “คืนค่าภาษีสุรา” เป็นภาษาไทยที่มองเห็นได้อย่างชัดเจน โดยใช้ตัวอักษรสีแดงเส้นทึบขนาดความสูงไม่น้อยกว่า ๕ มิลลิเมตร ประทับลงบนชายของดวงแสตมป์สุรา ฉลากปิดภาชนะบรรจุสุรา กรณีที่มิได้ขอใช้ฉลากปิดภาชนะบรรจุสุราใหม่ให้แตกต่างจากสุราที่ขายในประเทศ ให้ทำเครื่องหมาย “FOR EXPORT ONLY”หรือ “FOR EXPORT” หรือเครื่องหมายอื่นๆ ที่กรมสรรพสามิตเห็นชอบ ลงบนฉลากปิดภาชนะบรรจุ เมื่อส่งออกแล้ว ให้ยื่นคำขอคืนค่าภาษีต่อเจ้าพนักงานพร้อมหลักฐาน เพื่อขอคืนค่าภาษี (ส.2/84 ค พร้อมด้วย ส.2/84ข และ ใบขนสุรา ส.1/43) พิจารณาสั่งคืนค่าภาษีสุรา กฎกระทรวงกำหนดวิธีการและเงื่อนไขในการคืนค่าภาษีสุราสำหรับสุราที่ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2555 สุราเสื่อมสภาพตามมาตรา 11 เจ้าของสุรา เป็นสุราที่อยู่นอกโรงงานสุราซึ่งแปรสภาพไปเองจนไม่สมควรจะใช้ดื่มต่อไป โดยลักษณะของตามกฎกระทรวง ครั้งละไม่เกิน 400,000 ลิตร และในการยื่นครั้งต่อไปจะกระทำได้เมื่อได้รับค่าภาษีสุราคืนครบถ้วนแล้ว ต้องมีการตรวจนับ ต้องมีการพิสูจน์ว่าสุราดังกล่าวเป็นสุราที่มีลักษณะที่ขอคืนค่าภาษีสุราได้ การพิจารณาสั่งคืนค่าภาษี กฎกระทรวง กำหนดวิธีการ และเงื่อนไขในการขอคืนค่าภาษีสุราสำหรับสุราที่แปรสภาพไปเองจนไม่สมควรจะใช้ดื่มต่อไป พ.ศ ลงวันที่ 21 มกราคม 2547 และระเบียบกรมฯ ว่าด้วยแนวปฏิบัติในการขอคืนค่าภาษีสุราสำหรับสุราที่แปรสภาพไปเองจนไม่สมควรจะใช้ดื่มต่อไป พ.ศ ลงวันที่ 20 กาภาพันธ์ 2547

54 สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา (การคืนค่าภาษี)
สุราเสื่อมสภาพ (สำหรับสุราที่อยู่ภายในโรงงาน) ใช้หลักการเดียวกับการคืนค่าภาษีตามมาตรา 11 แนวปฏิบัติตามหนังสือกรมสรรพสามิต ที่ กค 0615/ ว 219 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2551 การคืนค่าภาษีโดยอาศัยกฎหมายอื่น กรณีการชำระภาษีไว้เกินกว่าที่ควรจะชำระ หรือชำระภาษีไว้โดยไม่มีหน้าที่ต้องชำระภาษี ซึ่งเป็นเงินที่ไม่พึงต้องชำระให้แก่รัฐ ต้องมีหลักฐานการชำระภาษี และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการที่ชำระภาษีไว้เกินหรือชำระไว้โดยไม่มีหน้าที่ พิจารณาคืนค่าภาษี มาตรา 4 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491

55 สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา (การงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุรา)
เอทานอลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง สุราสามทับที่มีแรงแอลกอฮอล์ตั้งแต่ 99.5 ดีกรีขึ้นไป ต้องแปลงสภาพตามสูตรที่กรมฯ กำหนด ก่อนนำออกจากโรงงาน ต้องติดตั้งระบบฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ยานพาหนะที่ทำการขน ต้องแสดงข้อความ “เอทานอลแปลงสภาพนำไปใช้ผสมกับน้ำมันเชื้อเพลิง” ตัวอักษรสีส้ม ขนาดไม่น้อยกว่า 2 x 1 นิ้ว บนพื้นสีขาวที่มีขนาดไม่น้อยกว่า 8 x 36 นิ้ว แสดงไว้ด้านหน้าหรือหลังของยานพาหนะ ยานพาหนะต้องติดตั้งระบบ GPS ทำบัญชีประจำวันและงบเดือนตามประกาศกำหนด กฏกระทรวงว่าด้วยการงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุราสำหรับสุรากลั่นชนิดสุราสามทับ ที่นำไปผสมกับน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง พ.ศ และประกาศกรมฯ เรื่อง วิธีการงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุราสำหรับสุรากลั่นชนิดสุราสามทับ (เอทานอล) ที่นำไปใช้ผสมกับน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2548

56 สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา (การงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุรา)
สุราที่นำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการทำสุรา ยื่นคำของดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีฯ พร้อมแนบ สุราที่จะรับสิทธิในการงดเว้นภาษีต้องเป็นสุราที่ได้รับอนุญาตให้ผลิตแล้ว กรรมวิธีการทำสุรา (ต้องเป็นกรรมวิธีของสุราที่ต้องใช้สุราเป็นวัตถุดิบ) ก่อนขนออกจากโรงงานหรือด่านศุลกากร ต้องวางหลักประกันค่าภาษีไม่น้อยกว่าค่าภาษีที่พึงต้องชำระ ต้องมีใบอนุญาตขนสุรากำกับไปกับสุรา กฎกระทรวงว่าด้วยการงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุรา และการลดหย่อนภาษีสุรา พ.ศ ลงวันที่ 23 มกราคม และระเบียบกรมฯ ว่าด้วยวิธีการ เงื่อนไข และแนวทางปฏิบัติในการงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุรา และการลดหย่อนภาษีสุรา พ.ศ ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2547 สุราที่ทำในราชอาณาจักรของผู้ได้รับเอกสิทธิ์ ผู้ของดเว้น ต้องเป็นสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลหรือองค์การระหว่างประเทศ ผู้ขายต้องเป็นผู้ได้ใบอนุญาตทำสุรา จำนวนสุราต้องไม่เกินจากที่กรมพิธีการทูต ตรวจสอบและรับรองตามสมควรให้ได้รับงดเว้นภาษีสุรา ฉลากต้องพิมพ์หรือประทับคำว่า “เอกสิทธิ์” และมีเครื่องหมายเป็นรหัสของสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือองค์การระหว่างประเทศ พร้อมทั้งลงตัวเลขอีก 6 หลักแสดงวันเดือนปีตามหนังสือแจ้งงดเว้น กฎกระทรวงฉบับที่ 98 (พ.ศ. 2531) ออกตามความในพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ กันยายน 2531 และประกาศกรมฯ กำหนดวิธีการและเงื่อนไข ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2531

57 สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา (การงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุรา)
สุราที่นำเข้ามาในราชอาณาจักรของผู้ได้รับเอกสิทธิ์ ให้ดำเนินการโดยสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลหรือองค์การระหว่างประเทศ ยื่นคำขอแสดงความประสงค์จะของดเว้นภาษีสุราไปยังกรมพิธีการทูต โดยแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อสุรา แรงแอลกอฮอล์ ขนาดภาชนะ และปริมาณน้ำสุรา กำหนดวันเวลาที่จะรับมอบจากศุลกากร เมื่อกรมพิธีการทูตรับรองว่าเป็นสุราของผู้ได้รับเอกสิทธิ์แล้วให้มีหนังสือแจ้งผู้ของดเว้นภาษีและกรมศุลกากรทราบ และให้สำเนาหนังสือถึงกรมศุลกากรให้กรมสรรพสามิตทราบด้วย กฎกระทรวงฉบับที่ 101 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ กันยายน 2531 และประกาศกรมฯ กำหนดวิธีการและเงื่อนไขฯ ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2534

58 สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา (อัตราภาษีพิเศษ)
สุราที่ขายในคลังสินค้าทัณฑ์บนที่ตั้งอยู่ในสนามบินศุลกากร ให้เสียภาษีในอัตราตามปริมาณเป็น 0.01 บาทต่อปริมาณหนึ่งลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ สุรานำเข้ามาในราชอาณาจักร ต้องขอใบอนุญาตนำเข้าตามกฎหมายสุรา สุราในประเทศ ปฏิบัติเช่นเดียวกับการขอคืนค่าภาษีสุรากรณีส่งออกไปนอกราชอาณาจักร กฎกระทรวงกำหนดอัตราภาษีสุราในคลังสินค้าทัณฑ์บนที่ตั้งอยู่ในสนามบินศุลกากร พ.ศ ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2548 และระเบียบกรมฯ ว่าด้วยวิธีการ เงื่อนไขและแนวทางปฏิบัติในการกำหนดอัตราภาษีสุราฯ พ.ศ ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2548 สุราที่นำไปใช้ในอุตสาหกรรม ให้เสียภาษีในอัตราตามมูลค่าร้อยละ 2 และตามปริมาณ 1 บาทต่อลิตร ต้องนำไปใช้ในอุตสาหกรรม เพื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร น้ำส้มสายชู อาซีติค แอซิด และ เอทิล อาซีเตท ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ผลิตน้ำมันไบโอดีเซลหรือพลังงานทดแทนชนิดอื่นเพื่อการศึกษา ทดลอง หรือวิจัยของมูลนิธิตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จะต้องซื้อจากโรงงานสุราองค์การสุรา กรมสรรพสามิต หรือนำเข้าจากต่างประเทศ ต้องทำบัญชีประจำวันตามแบบ ส.2/80 และบัญชีงบเดือนการรับจ่ายตามแบบ ส.2/81 กฎกระทรวงกำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุรา พ.ศ ลงวันที่ 21 มกราคม 2546 และประกาศกรมฯ เรื่อง กำหนดวิธีการลดหย่อนภาษีสุราสำหรับสุราสามทับที่นำไปใช้ในอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2550) ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2550

59 สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีสุรา (อัตราภาษีพิเศษ)
สุราที่นำไปทำการแปลงสภาพ ให้เสียภาษีในอัตราตามมูลค่าร้อยละ 2 และตามปริมาณ 1 บาทต่อลิตร สูตรการแปลงสภาพต้องเป็นไปตามที่อธิบดีประกาศกำหนด องค์การสุรา ทำการแปลงสภาพได้ทุกสูตร โรงงานสุราอื่น ๆ แปลงสภาพได้เฉพาะ สูตรที่ 2 ข สูตรที่ 5 ก สูตรที่ 12 ก สูตรที่ 13 และสูตรที่ 14 โรงงานต้นแบบผลิตแอลกอฮอล์จากวัสดุเกษตรของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย แปลงสภาพได้เฉพาะ สูตร ผสมที่ 7 สูตรที่ 8 สูตรที่ 9 และสูตรที่ 10 ผู้ที่ซื้อหรือนำแอลกอฮอล์แปลงสภาพออกไปจากโรรงงานสุราใดๆ ก็ตาม จะต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมสรรพสามิต และจะต้องมีหนังสือสำคัญแทนใบขนแอลกอฮอล์แปลงสภาพซึ่งเจ้าพนักงานสรรพสามิตออกให้ กำกับการขนแอลกอฮอล์แปลงสภาพไปด้วย กฎกระทรวงกำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุรา พ.ศ ลงวันที่ 21 มกราคม 2546 ประกาศกรมฯ เรื่อง กำหนดวิธีการแปลงสภาพ และระเบียบกรมฯ ว่าด้วยการแปลงสภาพแอลกอฮอล์ สุราที่นำไปใช้ในการแพทย์ เภสัชกรรมและวิทยาศาสตร์ ให้เสียภาษีในอัตราตามมูลค่าร้อยละ 0.1 และตามปริมาณ 0.05 บาทต่อลิตร สถานที่ราชการหรือโรงพยาบาลราชการ / โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล (ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและมีเตียงรับผู้ป่วยไว้รักษาค้างคืน) ต้องทำบัญชีประจำวันตามแบบ ส.2/80 และบัญชีงบเดือนการรับจ่ายตามแบบ ส.2/81 กฎกระทรวงกำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุรา พ.ศ ลงวันที่ 21 มกราคม 2546 ประกาศกรมฯ เรื่อง กำหนดวิธีการแปลงสภาพ และระเบียบกรมฯ ว่าด้วยการแปลงสภาพแอลกอฮอล์

60 เจ้าพนักงานสรรพสามิต การทำและขายเชื้อสุรา
การใช้สุราทำสินค้า 1. สิ่งของที่ใช้สุราทำขึ้นเพื่อการค้า ที่ต้องมีใบอนุญาต ได้แก่ น้ำหอมต่าง ๆ หัวน้ำเชื้อต่าง ๆ น้ำยารักษาโรคต่าง ๆ ต้องรับใบอนุญาตจาก เจ้าพนักงานสรรพสามิต ต้องซื้อสุราจากองค์การสุราเท่านั้น หากมีความจำเป็นต้องซื้อจากที่อื่นหรือนำเข้าต้องได้รับอนุญาตจากกรมฯ ก่อน ทำบัญชีรับและจ่ายตามแบบ ส.1/60 และ ส.1/61 และบัญชีงบ เดือนตามแบบ ส.1/68 ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต (เพดาน 300 บาท เก็บเต็มเพดาน) กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2493) สิ่งของที่ใช้สุราทำขึ้นเพื่อการค้า ลงวันที่ 22 มีนาคม 2493 และระเบียบกรมฯ ว่าด้วยการทำบัญชีประจำวันและบัญชีงบเดือนแสดงจำนวนสุราหรือเชื้อสุรา และการใช้สุราทำสินค้า พ.ศ. 2536 การทำและขายเชื้อสุรา การทำหรือขายเชื้อสุรา ต้องได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต การครอบครอง ต้องเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตให้ทำหรือขายเชื้อสุรา หรือเป็นผู้ซื้อหรือได้มาจากผู้ได้รับใบอนุญาตทำหรือขายเชื้อสุรา บัญชีประจำวันและบัญชีงบเดือนแสดงจำนวนเชื้อสุรา บัญชีรับ-จ่ายเชื้อสุรา (แบบ 6) งบเดือนแสดงจำนวนเชื้อสุรา (แบบ 7) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ทำสุราเพื่อขาย (เพดานปีละ 2,000 บาท) เก็บจริง 2,000 บาท ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ขายเชื้อสุรา (เพดานปีละ 200 บาท) เก็บจริง 200 บาท ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ทำเชื้อสุราสำหรับใช้ในบ้านเรือน (เพดานปีละ 50 บาท) ไม่กำหนดไว้ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ทำเชื้อสุราสำหรับใช้ในโรงงานสุรา (เพดานปีละ 500 บาท) เก็บจริง สุราชุมชน/สถานศึกษา 250 บาท /โรงงานสุรา 500 บาท)

61 การขายสุรา ห้ามมิให้ผู้ใดขายสุราหรือนำสุราออกแสดงเพื่อขาย เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต (ม.17) การขายสุราต้องได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต (ข้อยกเว้นภายใต้บทบัญญัติตามมาตรา 18) การขายสุราประเภทที่ 3 และประเภทที่ 4 ต้องขายในเวลา น. – น. และเวลา น. – น. (ไม่รวมถึงการขายสุราเกินเวลา น. ตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 253 และสถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ) สถานที่ขายสุราต้องไม่ตั้งอยู่ในบริเวณหรือบริเวณต่อเนื่องติดกับสถานศึกษาหรือศาสนสถาน สถานบริการน้ำมันเชื้อเพลิง การจัดทำบัญชีประจำวันและบัญชีงบเดือน ประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 จัดทำบัญชีประจำวันตามแบบ ส.2/80 สำหรับประเภทที่ 3 จัดทำบัญชีประจำวันตามแบบ ส2/80 ก ให้ประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 จัดทำบัญชีงบเดือนตามแบบ ส.2/81 ยื่นต่อเจ้าพนักงานสรรพสามิตภายใน 7 วัน บทบัญญัติตามมาตรา 17 มิให้ใช้บังคับแก่ (1) การขายสุราทั้งหมดในคราวเดียวภายใต้ความควบคุมของเจ้าพนักงานสรรพสามิต ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตตายหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต (2) การขายในการบังคับคดี (3) การขายโดยคำสั่งของอธิบดีกรมศุลกากร ตามกฎหมายศุลกากร ประเภท เพดาน จัดเก็บ ประเภทที่ 1 ทุกชนิด ครั้งหนึ่งตั้งแต่ 10 ลิตรขึ้นไป 10,000 7,500 ประเภทที่ 5 ทุกชนิด ครั้งหนึ่งต่ำกว่า 10 ลิตร ณ สถานที่ขายชั่วคราวไม่เกิน 10 วัน 300 ประเภทที่ 2 ในประเทศ ครั้งหนึ่งตั้งแต่ 10 ลิตรขึ้นไป ขายสุราต่อปี ไม่เกิน ๖,๐๐๐ ลิตร ขายสุราต่อปี เกิน ๖,๐๐๐ ลิตร แต่ไม่เกิน๒๐,๐๐๐ ลิตร ขายสุราต่อปี เกิน ๒๐,๐๐๐ ลิตร แต่ไม่เกิน ๓๒,๐๐๐ ลิตร สำหรับการขายสุราต่อปี เกิน ๓๒,๐๐๐ ลิตร ขึ้นไป หรือไม่กำหนดปริมาณ 5,000 1,000 3,000 4,000 ประเภทที่ 6 ในประเทศ ครั้งหนึ่งต่ำกว่า 10 ลิตร ณ สถานที่ขายชั่วคราวไม่เกิน 10 วัน 100 ประเภทที่ 3 ทุกชนิด ครั้งหนึ่งต่ำกว่า 10 ลิตร กทม เทศบาลนคร เมืองพัทยา ในเขตอื่น ๆ 2,000 1,500 ประเภทที่ 7 ครั้งหนึ่งต่ำกว่า 10 ลิตร (สมาคมหรือสโมสร) ประเภทที่ 4 ในประเทศ ครั้งหนึ่งต่ำกว่า 10 ลิตร 200 ให้เก็บหรือรักษาสุราไว้ที่อื่น

62 พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551
ใบอนุญาตประเภทที่ 4 ให้ออกให้แก่ผู้ทำการขายเร่ได้ด้วย ซึ่งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง และให้ถือเป็นใบอนุญาตขนสุราใช้กำกับสุราที่นำไปขายเร่ด้วย (กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ห้ามขายเร่) (ม.19ทวิ) ประเภท 3 และ 4 จะขายสุราได้เฉพาะภายในเวลาที่กำหนดในกฎกระทรวง (ม.20) ประเภทที่ 1 และ 2 เก็บและรักษาสุราไว้ ณ ที่อื่นไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต (ม.21) ห้ามประเภท 1 และ 2 ทำการเปลี่ยนแปลงสุรา โดยเอาสุราอื่นใด หรือน้ำ หรือของเหลว หรือวัตถุอื่นใดเจือปนลงหรือเปลี่ยนแปลงภาชนะบรรจุสุรา เว้นแต่จะได้รบอนุญาตเป็นหนังสือจากเจ้าพนักงานสรรพสามิตและต้องทำต่อหน้าเจ้าพนักงานสรรพสามิต โดยปฏิบัติตามวิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด (ม.22) ห้ามประเภทที่ 3 และ 4 ทำการเปลี่ยนแปลงสุรา โดยเอาสุราอื่นใด หรือน้ำ หรือของเหลว หรือวัตถุอื่นใดเจือปนลงหรือเปลี่ยนแปลงภาชนะบรรจุสุรา เว้นแต่ผู้ซื้อร้องขอให้เปลี่ยนแปลงสุราเพื่อดื่มในขณะนั้น (ม.23) พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ห้ามขายสุราในสถานที่หรือบริเวณ ดังนี้ วัดหรือสถานที่สำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและร้านขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา สถานที่ราชการ ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นร้านค้าหรือสโมสร หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ สถานที่บริการน้ำมันเชื้อเพลิง หรือร้านค้าในบริเวณสถานที่บริการน้ำมันเชื้อเพลิง สวนสาธารณะของทางราชการที่จัดไว้เพื่อการพักผ่อนของประชาชนทั่วไป ห้ามมิให้ผู้ใดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แก่บุคคล ดังนี้ บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ บุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไม่ได้ ห้ามขายสุราโดยวิธีการหรือในลักษณะ ดังนี้ ใช้เครื่องขายอัตโนมัติ การเร่ขาย ห้ามขายสุราในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา ยกเว้นการขายในโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม

63 การขนสุรา การขนสุราที่ต้องมีใบอนุญาตขนสุรากำกับไปกับสุราที่ขนด้วย
การขนสุราที่ยังมิได้เสียภาษีโดยถูกต้องออกจากโรงงานสุรา การขนสุราออกไปเก็บนอกโรงงานสุรา การขนสุราที่ได้รับสิทธิงดเว้นไม่เรียกเก็บภาษี การขนสุราเพื่อนำไปตรวจวิเคราะห์คุณภาพ การขนสุราตั้งแต่ 10 ลิตรขึ้นไป ต้องได้รับใบอนุญาตจาก เจ้าพนักงานสรรพสามิต เจ้าพนักงานศุลกากรสำหรับสุรานำเข้ามาในราชอาณาจักร ยกเว้น สุราชนิดที่กฎกระทรวงยกเว้นให้ทำการขนได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาตขนสุรา การขนสุราที่ทำในราชอาณาจักรเกินกว่า 1 ลิตรแต่ไม่ถึง10 ลิตร เข้าในหรือออกนอกเขตท้องที่ที่กำหนดในกฎกระทรวง ต้องได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต การออกหนังสือสำคัญสำหรับการขนสุราออกจากสถานที่ขายสุราของตนได้ โดยให้ถือเหมือนเป็นใบอนุญาตขนสุราตามมาตรา 14 ผู้ได้รับใบอนุญาตขายสุราประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 หรือตัวแทน (กรณีผู้ได้รับอนุญาตทำสุราต้องได้รับการอนุมัติภาค) หนังสือสำคัญตามแบบ ส.1/42 แบบ ส.1/42ก. และแบบ ส.1/42ข. โดยให้ถือเหมือนเป็นใบอนุญาตขนสุรา โดยปฏิบัติดังนี้ แบบ ส.1/42 ทำด้วยกระดาษสีขาว ปกสีน้ำตาล มี 3 ตอน แบบ ส.1/42 ก. ทำด้วยกระดาษฟ้า ปกสีน้ำตาล มี 2 ตอน แบบ ส.1/42 ข. ทำด้วยกระดาษชมพู ปกสีน้ำตาล มี 3 ตอน

64 เบ็ดเตล็ด ใบอนุญาตตามมาตรา 5 มาตรา 12 มาตรา 17 และมาตรา 24 ให้ใช้ได้เฉพาะในสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต และต้องแสดงใบอนุญาตนั้นไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่าย ผู้ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา 5 วรรคหนึ่ง หรือ มาตรา 19 ประเภทที่ 1 หรือประเภทที่ 2 หรือประเภทที่ 3 หรือมาตรา 12 หรือทำหรือขายเชื้อสุราตามมาตรา 24 จะต้องทำบัญชีประจำวันและบัญชีงบเดือนแสดงจำนวนสุราหรือเชื้อสุรา และยื่นบัญชีงบเดือนต่อเจ้าพนักงานสรรพสามิตตามแบบและกำหนดเวลาที่อธิบดีกำหนด โดยบัญชีประจำวันต้องเก็บรักษาไว้ ณ สถานที่ซึ่งได้รับใบอนุญาต และการทำบัญชีงบเดือนมิให้ใช้บังคับแก่ผู้ได้รับใบอนุญาตประเภทที่ 3 พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอำนาจเข้าไปตรวจโรงงานสุรา หรือสถานที่ของผู้ได้รับใบอนุญาตให้ทำ หรือขาย หรือเก็บสุรา หรือเชื้อสุรา หรือสินค้าอื่นใดที่ได้รับอนุญาตตาม พ.ร.บ. นี้ในเวลาทำการ การจับกุมและปราบปรามผู้กระทำความผิด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจและหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

65 บทกำหนดโทษ ทำ ฝ่าฝืน ม. 5 ทำและขาย
ขายสุราไม่ตรงประเภท/ซื้อสุราจากผู้ไม่มีสิทธิขาย (ม.40 ทวิ) ฝ่าฝืน ม.25 (เชื้อสุราครอบครอง) (ม.30) ปรับไม่เกิน 200 บาท จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ สุราแช่ ทำ ฝ่าฝืน ม. 5 (ม.30) ซื้อ / หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสุราที่รู้ว่าทำขึ้นโดยฝ่าฝืน ม. 5 (ม.33) จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ทำและขาย ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ขาย / นำออกแสดงเพื่อขายซึ่งสุราที่รู้ว่าทำขึ้นโดยฝ่าฝืน ม. 5 (ม.31) ยกเว้น สุรากลั่น ต่ำกว่า 1 ลิตร / สุราแช่ต่ำกว่า 10 ลิตร ปรับไม่เกิน 5,000 บาท ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ฝ่าฝืน ม.5 ทวิ (ม.32 ทวิ)

66 บทกำหนดโทษ ขาย / มีไว้เพื่อขายซึ่งสุราที่รู้ว่าต้องปิดแสตมป์ แต่มิได้ปิด/ปิดไม่ครบ/ไม่ปิดตามวิธีการและเงื่อนไขในกฎกระทรวง (ม.33) ขาย / มีไว้เพื่อขายโดยไม่มีสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายซึ่งสุราที่ยกเว้นหรือคืนค่าภาษีกรณีส่งออก (ม.33 ทวิ) จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 4 เท่าของค่าภาษี (แต่ต้องไม่น้อยกว่าลิตรละ 100 บาท) หรือทั้งจำทั้งปรับ (เศษของลิตรให้ถือเป็น 1 ลิตร ขาย / มีไว้เพื่อขาย / มีไว้ในครอบครองซึ่งสุราที่รู้ว่าต้องเสียภาษีตามวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง ม. 7 แต่มิได้เสียภาษีหรือเสียไม่ครบถ้วน (ม.33 ตรี)

67 บทกำหนดโทษ ซื้อ / มีไว้ในครอบครองซึ่งสุราที่รู้ว่าต้องปิดแสตมป์ แต่มิได้ปิด/ปิดไม่ครบ/ไม่ปิดตามวิธีการและเงื่อนไขในกฎกระทรวง ทั้งนี้โดยไม่สุจริต (ม.34) ปรับไม่เกิน 2 เท่าของค่าภาษี (แต่ต้องไม่น้อยกว่าลิตรละ 50 บาท) (เศษของลิตรให้ถือเป็น 1 ลิตร ซื้อ / มีไว้ในครอบครองโดยไม่มีสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายซึ่งสุราที่ยกเว้นหรือคืนค่าภาษีกรณีส่งออก (ม. 34 ทวิ) จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 4 เท่าของค่าภาษี (แต่ต้องไม่น้อยกว่า 20,000 บาท) หรือทั้งจำทั้งปรับ ฝ่าฝืน ม.13 (ม.39) การฝ่าฝืนนี้ เป็นกรณีไม่เสียภาษี หรือเสียภาษีไม่ครบถ้วน ตามระยะเวลาหรือวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง (ม. 34 ตรี วรรคสอง) จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ผู้รับอนุญาตทำสุราฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงเกี่ยวกับวิธีการเสียภาษี ม. 7 (ม.34 ตรี วรรคแรก) แจ้งราคาขายฯ อันเป็นเท็จ (ม.43ทวิ ว2) ไม่แจ้งราคาขายตาม ม.8เบญจ หรือแจ้งไม่ถูกต้องตามความจริง (ม.43ทวิ ว1) ฝ่าฝืน / ไม่ปฏิบัติ ตามกฎกระทรวง ม. 7 ว.2 (ม.35ทวิ) ปรับไม่เกิน 20,000 บาท

68 ยื่นบัญชีตาม ม.27 เป็นเท็จ จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท
บทกำหนดโทษ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ฝ่าฝืน ม.6 (ม.35) ฝ่าฝืน ม.24 (เชื้อสุรา) (ม.42) ปรับตามปริมาณน้ำสุราที่ทำการขน ในอัตราลิตรละ 10 บาท เศษของลิตรให้ถือเป็น 1 ลิตร ปรับไม่เกิน 50 บาท ฝ่าฝืน ม.20 (เวลาขาย) (ม.41) ฝ่าฝืน ม.14 / ม.15 (ม.38ทวิ) ยื่นบัญชีตาม ม.27 เป็นเท็จ (ม.43 ว.2) จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ทำบัญชีไม่ถูกต้องตามความจริง หรือไม่ทำบัญชีแสดงจำนวนสุราหรือเชื้อสุรา ตาม ม. 27 (ม.43 ว.1) ฝ่าฝืน ม.8 / ม.22 (ม. 36) ฝ่าฝืน ม.9 ว.2 / ม.26 ว.1 (ม.37) ปรับไม่เกิน 2,000 บาท ฝ่าฝืน ม.17 (สุรานำเข้า) ฝ่าฝืน ม.17 (สุราในประเทศ) (ม.40) ฝ่าฝืน ม.12 / ม.21 / ม.23 (ม.38) ปรับไม่เกิน 500 บาท

69 บทกำหนดโทษ มีแสตมป์สุราซึ่งรู้อยู่ว่าเป็นแสตมป์ปลอม/
มีแสตมป์สุราที่ใช้แล้วไว้ในครอบครองเพื่อใช้อีกหรือเพื่อค้า / นำแสตมป์สุราที่ใช้แล้วมาใช้อีก (ม.44) จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ โทษปรับสถานเดียว ให้อธิบดีหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากอธิบดีมีอำนาจเปรียบเทียบได้ (ม.44 ทวิ) สุรา เชื้อสุรา และสินค้าที่ทำด้วยสุรา ที่ได้ทำ นำเข้า ขายหรือมีไว้ในครอบครอง อันฝ่าฝืน พ.ร.บ. ตลอดจนภาชนะที่ใส่สิ่งของ รวมถึงภาชนะและเครื่องกลั่นสำหรับทำสุราให้ริบเป็นของกรมฯ (ม.45) ผู้ได้รับใบอนุญาตกระทำผิด พ.ร.บ. หรือข้อกำหนดในกฎกระทรวง หรือข้อกำหนดในใบอนุญาต เจ้าพนักงานสรรพสามิตหรืออธิบดี ผู้ออกใบอนุญาตแล้วแต่กรณี มีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดไม่เกิน 6 เดือน หรือจะสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเสียก็ได้ (ม.46) “ผู้จับ” หมายความถึง เจ้าพนักงานจับกุม สั่งการหรือร่วมจับกุม รวมถึงผู้ช่วยเหลือ “ผู้แจ้งความนำจับ” หมายความว่า บุคคลผู้มิใช่เจ้าพนักงาน “รางวัล” คือเงินที่จ่ายให้แก่ผู้จับ “สินบน” คือเงินจ่ายให้แก่ผู้แจ้งความนำจับ “เงินค่าปรับ” คือเงินที่ผู้ต้องหาชำระต่อผู้มีอำนาจเปรียบเทียบ พนักงานสอบสวนหรือศาล

70 การรักษาพระราชบัญญัติ
มาตรา 47 รมต. เป็นผู้รักษาการตาม พ.ร.บ. และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง (มีผลบังคับใช้เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา) ดังนี้ (1) กำหนดชนิดของสุรา อัตราภาษีสุรา ลักษณะของแสตมป์สุรา และอัตราค่าธรรมเนียมต่าง ๆ (2) ลดหย่อนหรืองดเว้นไม่เก็บค่าธรรมเนียมในการออกใบอนุญาตขายสุรา หรือใบอนุญาตให้ทำหรือขายเชื้อสุรา (3) ลดหย่อนหรืองดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุรา (ก) สำหรับสุราของผู้ได้รับเอกสิทธิ์ตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ต่อองค์การสหประชาชาติ หรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือตามสัญญา หรือความตกลงกับต่างประเทศ หรือทางการทูต ตามหลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยปฏิบัติตามวิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด (ข) สำหรับสุราที่นำไปทำการแปลงสภาพ หรือที่นำไปใช้ในการแพทย์ เภสัชกรรม วิทยาศาสตร์ หรือุตสาหกรรมตามวิธีการที่อธิบดีกำหนด (4) กำหนดวิธีการ เงื่อนไขและข้อกำหนด เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

71 เงินสินบนรางวัล ไม่มีผู้แจ้งความนำจับ มีผู้แจ้งความนำจับ
“ผู้จับ” หมายความถึง เจ้าพนักงานจับกุม สั่งการหรือร่วมจับกุม รวมถึงผู้ช่วยเหลือ “ผู้แจ้งความนำจับ” หมายความว่า บุคคลผู้มิใช่เจ้าพนักงาน “รางวัล” คือเงินที่จ่ายให้แก่ผู้จับ “สินบน” คือเงินจ่ายให้แก่ผู้แจ้งความนำจับ “เงินค่าปรับ” คือเงินที่ผู้ต้องหาชำระต่อผู้มีอำนาจเปรียบเทียบ พนักงานสอบสวนหรือศาล เงินสินบน ร้อยละ 30 ไม่เกิน 150,000 บาท ร้อยละ 55 ของเงินค่าปรับ หรือเงินค่าขายของกลาง มีผู้แจ้งความนำจับ 3/5 จ่ายผู้จับ/ร่วมจับ เงินรางวัลร้อยละ 25 ไม่เกิน 150,000 บาท 2/5 จ่ายผู้จับ/ร่วมจับ/สั่งการ/ช่วยเหลือ ไม่มีผู้แจ้งความนำจับ เงินรางวัล ร้อยละ 30 ของเงินค่าปรับหรือเงินค่าขายของกลาง แต่ไม่เกิน 150,000 บาท ขนสุราออกจากโรงงานสุรา โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสุราดังกล่าว และมีสุราของกลาง ตั้งแต่ 10 ลิตรขึ้นไป (ต้องเป็นกรณีไม่มีผู้แจ้งความนำจับและได้ตัวผู้กระทำผิด) เงินรางวัลร้อยละ 30 ของเงินค่าปรับหรือเงินค่าขายของกลาง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท ผู้ช่วยเหลือ ได้แก่ ผู้พิสูจน์ ผู้เปรียบเทียบ นักวิทยาศาสตร์ ส่วนแบ่งเงินรางวัล ตำแหน่งระดับ 3 ขึ้นไปหรือยศร้อยตรีขึ้นไป คนละ 2 ส่วน ต่ำกว่าระดับ 3 หรือยศต่ำกว่าร้อยตรีลงมา คนละ 1 ส่วน

72 เงินสินบนรางวัล การจ่ายเงิน ให้หักจากเงินค่าปรับหรือเงินค่าขายของกลาง ยกเว้นค่าปรับตามคำสั่งศาลให้เบิกจ่ายจากเงินงบประมาณ การจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัล จะจ่ายให้เมื่อคดีถึงที่สุด และต้องยื่นคำขอรับภายใน 120 วันนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด และจะไม่จ่ายให้เมื่อยื่นคำร้องไว้แล้วเกิน 1 ปี นับจากวันที่รับแจ้งจากผู้มีอำนาจสั่งจ่ายว่าเป็นผู้มีสิทธิที่จะได้รับ การต้องโทษขังแทนค่าปรับ ให้งดจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัลในส่วนของค่าปรับที่ถูกกักขังแทน ให้ยกเลิกการจ่ายเงินสินบนและรางวัล ในคดีกระทำผิดกฎหมายว่าด้วยสุราในกรณีทำสุราโดยไม่ได้รับอนุญาต ขาย ซื้อ หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสุราดังกล่าว (เฉพาะสุราแช่และสุรากลั่นชนิดสุราขาวที่ทำในราชอาณาจักร)

73 สำหรับพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 จบแล้วนะคะ ขอให้ทุกคนโชคดีนะคะ


ดาวน์โหลด ppt สุรา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google