ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวทางการลดค่า Peak demand และค่า Power Factor
3/16/2020 3:25 PM แนวทางการลดค่า Peak demand และค่า Power Factor By Mr. Chinnatas Jantong ENG. 5 PEA C.3 © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.
2
ความรู้พื้นฐานด้านพลังงานไฟฟ้า
ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy) มีหน่วยเป็น kWh. หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “หน่วยไฟฟ้า” วิธีลดค่าไฟฟ้า kW h Kilo-Watts Hours ลดขนาดของอุปกรณ์ บำรุงเป็นอย่างดี เลือกอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง ลดเวลาการทำงานของอุปกรณ์
3
ความรู้พื้นฐานด้านพลังงานไฟฟ้า
ตัวอย่างเช่น พัดลมขนาด 60 วัตต์ = 0.06 kW ถ้าเปิดวันละ 8 ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าอยู่ที่ x8 = 0.48 หน่วยต่อวัน ถ้าทำงาน 22 วันต่อเดือน จะทำให้ใช้พลังงานไฟฟ้าไป หน่วย ถ้าค่าไฟต่อหน่วยคือ 3.5 บาท คิดเป็นเงิน บาทต่อเดือน เครื่องปรับอากาศขนาด บีทียู-ชม จะกินไฟอยู่ที่ประมาณ 1000 วัตต์ = 1 kW ถ้ากำหนดสัดส่วนการทำงานของเครื่องปรับอากาศอยู่ที่ 0.5 ถ้าเปิดวันละ 8 ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าอยู่ที่ 1.0x8x0.5 = 4 หน่วยต่อวัน ถ้าทำงาน 22 วันต่อเดือน จะทำให้ใช้พลังงานไฟฟ้าไป 88 หน่วย คิดเป็นเงิน 308 บาทต่อเดือน
4
การใช้พลังงานในสำนักงาน
ก่อนที่จะดำเนินมาตรการประหยัดพลังงาน ควรจะทำการวิเคราะห์เพื่อหาว่าหน่วยงานมีการใช้พลังงานไปในแต่ละระบบเป็นสัดส่วนเท่าใด สำหรับหน่วยงานทั่วไป จะแบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ ระบบแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ และ ระบบอื่นๆ
5
ตัวอย่างการคำนวณ สัดส่วนการใช้พลังงานในสำนักงาน
อุปกรณ์ ขนาด (W) จำนวน ชั่วโมงใช้งาน สัดส่วนทำงาน kWh หลอดฟลูออเรสเซนต์ 36 (46) 100 160 1.00 736 คอมพิวเตอร์ 20 512 กาต้มน้ำ 750 1 0.5 60 เครื่องถ่ายเอกสาร 1000 2 0.3 96 เครื่องปรับอากาศ 10 800 รวม 2,204 ตัวอย่างการคำนวณ สัดส่วนการใช้พลังงานในสำนักงาน
6
สัดส่วนการใช้พลังงานในสำนักงาน
ระบบปรับอากาศ ระบบแสงสว่าง ระบบอื่นๆ หน่วยงานทั่วไปในเมือง 60 25 15 หน่วยงานทั่วไปนอกตัวเมือง 35 30 หน่วยงานที่มีอุปกรณ์พิเศษมากๆ 20 50 หน่วยงานที่มีเครื่องปรับอากาศน้อย สัดส่วนการใช้พลังงานในสำนักงาน ตัวเลขที่ได้นี้ เป็นการประมาณการณ์ ซึ่งสามารถนำไปใช้ประเมินได้คร่าวๆ สำหรับหน่วยงาน หน่วยงานมีสัดส่วนการใช้พลังงานที่ไม่เท่ากันอาจจะเป็นเพราะหลายสาเหตุ เช่น หน่วยงานในเมืองจำเป็นที่จะต้องเป็นพื้นที่ปรับอากาศเสียส่วนใหญ่เนื่องจากทำเลที่ตั้งของอาคารที่มีการไหลเวียนของอากาศไม่ดี เสียงดังจึงจำเป็นต้องปิดห้องให้มิดชิด หน่วยงานที่อยู่นอกเมือง ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นอาคารเดียวๆ อากาศไหลเวียนดี จึงอาจไม่จำเป็นต้องพึ่งพาเครื่องปรับอากาศมากนัก รวมถึง งบประมาณที่หน่วยงานได้รับก็อาจจะไม่เพียงพอต่อการจัดหาเครื่องปรับอากาศ หรือ อุปกรณ์อำนวยความสะดวกต่างๆ
7
แนวทางการประหยัดพลังงานในภาพรวม
หน่วยงานมีการใช้สัดส่วนการใช้พลังงาน ระบบปรับอากาศ 60% ระบบแสงสว่าง 25% และระบบอื่นๆ 15% แนวทางการประหยัดพลังงานในภาพรวม มาตรการ ผลประหยัดในมาตรการ ผลประหยัดในภาพรวม เปิดพัดลม+ปรับอุณหภูมิขึ้น 1 องศา (50% ของ พื้นที่ปรับอากาศ) 5% 3.0% ล้างเครื่องปรับอากาศ ลดชั่วโมงการทำงานเครื่องปรับอากาศ 1 ชม 12.5% 7.5% อุดรอยรั่วของพื้นที่ปรับอากาศ 1.0% ปิดไฟพักเที่ยง 1 ชม (80%) 10% 2.5% ลดจำนวนหลอดใช้แสงธรรมชาติ (10% ของจำนวนหลอดทั้งหมด) อุปกรณ์อื่นๆ 0.75% รวมทั้งหมด 20.75% เป็นหน่วยงานที่มีพื้นที่ปรับอากาศเป็นส่วนใหญ่ และมีอุปกรณ์สำนักงานทั่วๆ ไป
8
แนวทางการประหยัดพลังงานในภาพรวม
หน่วยงานมีการใช้สัดส่วนการใช้พลังงาน ระบบปรับอากาศ 35% ระบบแสงสว่าง 35% และระบบอื่นๆ 30% แนวทางการประหยัดพลังงานในภาพรวม มาตรการ ผลประหยัดในมาตรการ ผลประหยัดในภาพรวม เปิดพัดลม+ปรับอุณหภูมิขึ้น 1 องศา (50% ของ พื้นที่ปรับอากาศ) 5% 1.75% ล้างเครื่องปรับอากาศ ลดชั่วโมงการทำงานเครื่องปรับอากาศ 1 ชม 12.5% 4.375% อุดรอยรั่วของพื้นที่ปรับอากาศ ปิดไฟพักเที่ยง 1 ชม (80%) 10% 3.5% ลดจำนวนหลอดใช้แสงธรรมชาติ (10% ของจำนวนหลอดทั้งหมด) อุปกรณ์อื่นๆ 1.5% รวมทั้งหมด 18.125% เป็นหน่วยงานขนาดเล็ก มีอุปกรณ์สำนักงานทั่วๆ ไป
9
แนวทางการประหยัดพลังงานในภาพรวม
หน่วยงานมีการใช้สัดส่วนการใช้พลังงาน ระบบปรับอากาศ 30% ระบบแสงสว่าง 20% และระบบอื่นๆ 50% แนวทางการประหยัดพลังงานในภาพรวม มาตรการ ผลประหยัดในมาตรการ ผลประหยัดในภาพรวม เปิดพัดลม+ปรับอุณหภูมิขึ้น 1 องศา (50% ของ พื้นที่ปรับอากาศ) 5% 1.5% ล้างเครื่องปรับอากาศ ลดชั่วโมงการทำงานเครื่องปรับอากาศ 1 ชม 12.5% 3.75% อุดรอยรั่วของพื้นที่ปรับอากาศ ปิดไฟพักเที่ยง 1 ชม (80%) 10% 2.0% ลดจำนวนหลอดใช้แสงธรรมชาติ (10% ของจำนวนหลอดทั้งหมด) อุปกรณ์อื่นๆ 2.5% รวมทั้งหมด 14.75% เป็นหน่วยงานที่มีอุปกรณ์สำนักงานจำนวนมาก
10
มาตรการประหยัดพลังงาน
House Keeping ในการดำเนินมาตรการประหยัดพลังงานใน สำนักงาน เบื้องต้นสามารถทำได้โดยไม่ต้อง ลงทุน ลดการใช้ / ลดการสูญเสีย / อุดรอยรั่ว / ปรับเปลี่ยนวิธีทำงาน ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ ในการดำเนินมาตรการประหยัดพลังงาน ในบางส่วนจำเป็นต้องมีการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยนให้เป็นอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน หรือ/และ มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น
11
ลักษณะของตู้ Cap. Banks
Introduction ตู้ Cap. ลักษณะของตู้ Cap. Banks
12
Fix Cap. banks Auto Cap. banks
13
การติดตั้ง Capacitor จะติดตั้งที่ 30 % ของขนาดหม้อแปลง
Single Line Diagram การติดตั้ง Capacitor จะติดตั้งที่ 30 % ของขนาดหม้อแปลง
14
ลักษณะภายในของตู้ Cap. Bank
15
ข้อดี ของการปรับปรุง ค่า PF.
16
1. ไม่โดนค่าปรับกิโลวาร์ชาร์จ
การไฟฟ้ากำหนดให้ผู้ใช้ไฟ ต้องมีค่า power factor ไม่ต่ำกว่า หรือ กำหนดให้ใช้ กำลังรีแอคทีฟได้ไม่เกินร้อยละ เพื่อป้องกัน ให้ไม่เกิดปัญหาแรงดันตก ในระบบ เนื่องจากกำลังรีแอคตีฟไม่เพียงพอ ในระบบ เริ่ม มิ.ย. 55
17
ระบบที่ไม่มีคาปาซิเตอร์ ระบบที่มีคาปาซิเตอร์
ระบบจำหน่ายของ กฟภ. ระบบจำหน่ายของ กฟภ. มิเตอร์ไฟฟ้า P Q มิเตอร์ไฟฟ้า P Q ระบบของ ผู้ใช้ไฟฟ้า Loads Loads P 100% kW Q 61.97% kVar Q ส่วนเกิน 61.97% kVar
18
ทฤษฏีการคำนวณหาค่า PF.
P (kW) S (kVA) Q (kvar) S = apparent power P = active power Q = reactive power S = P2 + Q2 P = S2 – Q2 Q = S2 – P2 ตัวอย่าง Explanations on the capacitive and inductive kvar. P (kW) = 400 S (kVA) = ? Q (kvar) = 300 PF. = 400 / 500 = (lag) S = S = kVA
19
ที่มา คิดค่าปรับ PF. ของการไฟฟ้า
สมมุติให้ S=1 , P= 0.85 ค่า PF. ของระบบมีค่า= 0.85 นั่นคือ P (kW) = 0.85 S (kVA) = 1.00 Q (kvar) = ? ดังนั้น Q/P = /0.85 = ถ้ารู้ P สูงสุด เราก็ทราบ Limit ของ Q ว่าควรใช้ไม่เกินเท่าไร (ที่ตำแหน่งมิเตอร์) หรือ ถ้าต้องการไม่ให้ค่า PF. ในระบบต่ำกว่า โรงงานจะต้องมีการใช้ กำลังรีแอคทีฟ ไม่เกินร้อยละ % ของกำลังไฟฟ้าสูงสุดในเดือนนั้นๆ
20
ไม่โดนค่าปรับ ตัวอย่างที่ 1 M P Q P= 300 Cap = 200 kVAR Q2 =100
Load ต้องการ P= 300 Q= 300 S= = PF. = 300 / = 0.95 (Lag) ไม่โดนค่าปรับ
21
โดนค่าปรับ ตัวอย่างที่ 2 M P Q P= 300 Cap = 100 kVAR Q2 =200 Q1 = 100
Load ต้องการ P= 300 Q= 300 S= = PF. = 300 / = 0.83 (Lag) โดนค่าปรับ
22
ไม่โดนค่าปรับ ตัวอย่างที่ 3 Q2 = - 100 M P Q P= 300 Cap = 400 kVAR
Load ต้องการ P= 300 Q= 300 S= (-100)2 = PF. = 300 / = (LEAD) ไม่โดนค่าปรับ
23
วิธีการคิดค่าปรับกิโลวาร์ชาร์จ
กิโลวัตต์สูงสุดที่อ่านได้ (kW) ขีดจำกัดกิโลวาร์ = 61.97% x กิโลวัตต์สูงสุด (kVar) กิโลวาร์สูงสุดที่อ่านได้ (kVar) กิโลวาร์ส่วนเกิน ค่าปรับกิโลวาร์ 1179 1065 (เดิม) (ใหม่)
24
2. สามารถจ่ายโหลดหม้อแปลงได้มากขึ้น (แต่ไม่เกิน kVA จริงของหม้อแปลง)
ตัวอย่าง หม้อแปลง S= 500 kVA โหลด P= 400 kW Q= 300 kVAR ถ้าชดเชย Q 100 kVAR ระบบจะใช้ Q = 300 – 100 = 200 kVAR S ใหม่ = = kVA นั้นคือ ค่า kVA ของระบบ คงเหลือเพิ่ม = = kVA P เพิ่มเติม Q เพิ่มเติม
25
3. สามารถลดขนาดหม้อแปลงที่ติดตั้งได้
ตัวอย่าง หม้อแปลง 500 kVA โหลด P= 450 kW Q= 300 kVAR S = = kVA overload ต้องตั้งหม้อแปลงเพิ่ม แต่ถ้ามีการติดตั้งคาปาซิเตอร์เพิ่มชดเชยค่า kVAR = 100 kVAR จะทำให้ ค่า kVA ของระบบ = ( )2 = kVA ไม่เกินขนาดหม้อแปลง ทำให้ไม่ต้องติดตั้งหม้อแปลงเพิ่ม
26
4. ช่วยเพิ่มระดับแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้น
เมื่อ PF. สูงขึ้น แรงดันทางด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงจะเพิ่มขึ้นตามสูตร %V (เพิ่มขึ้น) = (ขนาดพิกัดคาปาซิเตอร์ x %อิมพีแดนซ์หม้อแปลง) / ขนาดพิกัดหม้อแปลง %V (เพิ่มขึ้น) = ( KVAR x %Z ) / KVA ยกตัวอย่างเช่น หม้อแปลงขนาด 500 kVA ติดตั้ง Cap. ขนาด 300 kVar และ 100 kVar ตามลำดับ โดยค่าอิมพีแดนซ์หม้อแปลงมีค่าเท่ากับ 6 % %V = 300 x 6 = %V = 100 x 6 = 1.2 %∆V = Capacitor (kVar) x %Ztr. Transformer (kVA)
27
ข้อเสีย ของการปรับปรุง ค่า PF.
- เกิดค่าใช้จ่ายในการลงทุนติดตั้งอุปกรณ์ในส่วนของ Power Factor Controller, Capacitor Bank, fuse, Magnetic Contactor
28
เกิดแรงดันเกินขึ้นในระบบไฟฟ้าขณะ Light Load ส่งผลให้อุปกรณ์ไฟฟ้าเกิดการชำรุดเสียหาย เนื่องจากการปรับปรุง PF ที่มากเกินไป (Fix. Capacitor bank)
29
- เกิดการชำรุดของ Capacitor และ Fuse เนื่องจากเกิด “Resonance”ระหว่างค่า Inductance ของหม้อแปลงและค่า Capacitance ของ Capacitor ทำให้มีการขยายกระแสฮาร์โมนิกส์จากระบบไฟฟ้าไหลเข้าสู่ Capacitor
30
ลักษณะการเกิดสภาวะ Resonance สร้างความเสียหาย
ต่อชุด Capacitor Bank
31
การบำรุงรักษาอุปกรณ์ภายในตู้ Cap.
Inspection Method : ซึ่งจะแบ่งแยกวิธีการตรวจสอบตู้คาปาซิเตอร์แบงค์ได้ออกเป็น 3 ขั้นตอน เบื้องต้นดังต่อไปนี้ 1. Visual Inspection : การตรวจสอบสภาพภายนอกโดยทั่วไป 2. Electric Inspection : การตรวจสอบการทำงานทางไฟฟ้า 3. Mechanical Inspection : การตรวจสอบการทำงานทางกล
32
Inspection : 1. Visual Inspection :
- Fuse : fuse จะต้องไม่ขาดและจะต้องติดตั้งอยู่ภายในฐาน Support Fuse ที่แน่นทั้ง 3 เฟส “ ปกติ “ “ ผิดปกติ “
33
1. Visual Inspection : - Molded Case Circuit Breaker : สำหรับ MCCB จะต้องไม่มีร่องรอยการเกิดการอาร์ค หรือร่องรอยการไหม้ขึ้นที่ MCCB
34
1. Visual Inspection : - Cable : ตรวจสอบสภาพของสายไฟฟ้าที่ใช้งานจะต้องไม่มีรอยแตก, รอยไหม้ ที่สายไฟฟ้า อีกทั้งลำดับเฟสที่ต่อวงจรไปยังอุปกรณ์ Magnetic Contactor Reactor และ Capacitor ในแต่ละ step จะต้องเข้าสายอย่างถูกต้อง
35
ขดลวดความต้านทาน (Damping Resister)
1. Visual Inspection : - Magnetic Contactor : ตรวจสอบ Damping Resister (ขดลวดความต้านทาน) ที่ต่อเข้ากับขั้วของ Magnetic Contactor จะต้องมีติดตั้งครบทั้ง 3 เฟส ซึ่งถ้า Damping Resister ขาดหรือสูญหายไปจะเป็นอันตรายอย่างยิ่งกับ Magnetic Contactor อย่างมาก ขดลวดความต้านทาน (Damping Resister)
36
1. Visual Inspection : - Capacitor Bank : ตรวจสอบสภาพภายนอกโดยรวมของคาปาซิเตอร์จะต้องไม่มีรอยแตก, รอยไหม้, บวม หรือร่องรอยที่เกิดจากการลัดวงจร (Short Circuit) ถ้าตรวจพบแสดงว่าคาปาซิเตอร์เกิดความผิดปกติขึ้นภายใน
37
1. Visual Inspection : - Thermostart / Ventilation System : ตรวจสอบระบบการไหลเวียนถ่ายเทของอากาศภายในตู้ อีกทั้งการตรวจสอบการปรับตั้งค่าอุณหภูมิการทำงานของพัดลมที่ถูกต้องและมีความสัมพันธ์สอดคล้องกันกับคาปาซิเตอร์ที่เลือกใช้งาน
38
1. Visual Inspection : - Thermostart / Ventilation System : ตรวจสอบเซนเซอร์ที่วัดอุณหภูมิภายในตู้คาปาซิเตอร์แบงค์ จะต้องอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ
39
1. Visual Inspection : - Power Factor Controller : จะต้องไม่มีรอยแตก, รอยไหม้, ที่ตัวอุปกรณ์หรือขั้วต่อสายต่างๆ
40
2. Inspection : 2. Electrical Inspection :
- Insulation : ตรวจสอบโดยใช้ เมกกะโอห์ม ตั้งค่าระดับแรงดันไฟฟ้าเพื่อทดสอบที่ขนาด 500 VDC แล้วทำการทดสอบระหว่างขั้วของคาปาซิเตอร์กับตัวถังคาปาซิเตอร์ควรมีค่าความเป็นฉนวนเกิน 1 เมกกะโอห์ม
41
2. Electrical Inspection :
- PFC : จะแบ่งการตรวจสอบออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 2.1. Manufacture setting : ตรวจสอบการปรับตั้งค่าเริ่มต้นจากโรงงานผู้ผลิต 2.2. Installation setting : ตรวจสอบการปรับตั้งค่าในการปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์
42
2. Electrical Inspection :
- Capacitor : การตรวจสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้าของคาปาซิเตอร์ ซึ่งจะแบ่งการตรวจสอบได้ออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การตรวจสอบค่ากระแสคาปาซิเตอร์ (Current Inspection : Energized) - การตรวจสอบค่าคาปาซิแตนซ์ (Capacitance Inspection : De – Energized)
43
I = kVAR x 1000 √3 x Vnom 2. Electrical Inspection :
- การตรวจสอบค่ากระแสคาปาซิเตอร์ (Energized) ตรวจสอบค่าความจุไฟฟ้าของตัวคาปาซิเตอร์ในขณะที่ต่อใช้งานในแต่ละ step โดยจะทำการตรวจวัดค่ากระแสไฟฟ้าในแต่ละลำดับเฟส A, B, C I = kVAR x 1000 √3 x Vnom
44
อธิบาย : ถ้าตู้สวิทซ์บอร์ดมีปัญหาก็จะไม่สามารถจ่ายให้โหลดได้
Ex. Capacitor 75 kVar 400 V 50 Hz (I = A) ค่ากระแสไฟฟ้าของ Capacitor ในแต่ละเฟสไม่เท่ากัน OK FAIL อธิบาย : ถ้าตู้สวิทซ์บอร์ดมีปัญหาก็จะไม่สามารถจ่ายให้โหลดได้ แสดงว่าค่าของ Capacitor ใน Step นั้น “เสื่อมสภาพ” 44
45
การวัดค่า Capacitor โดยใช้ Multi Meter (ดับไฟ)
46
ใช้ได้กับคาปาซิเตอร์ทุกผลิตภัณฑ์
47
อายุการใช้งาน Capacitor
ที่มา
48
อายุการใช้งาน Capacitor
Life’ law for capacitor says that : Life expectancy DOUBLES for every 7 0C drop in temperature. Life expectancy HALVES for every 7 0C rise. Life expectancy for Capacitor Class D ใช้ได้กับคาปาซิเตอร์ทุกผลิตภัณฑ์ 2.3 Years 20,000 Hours at 55 0C 7 0C 40,000 Hours at 48 0C 4.6 Years 7 0C 80,000 Hours at 41 0C 9.6 Years
49
Name Plate Capacitor
50
2. Electrical Inspection :
- การตรวจสอบวัดค่าอุณหภูมิ Thermoscan (Energized)
51
Inspection : 3. Mechanical Inspection :
- Connection & Terminal : ตรวจสอบการขันแน่นของน๊อตและโบล์ทที่ใช้ในตำแหน่งต่างๆของคาปาซิเตอร์ ซึ่งอย่างน้อยควรมีการจัดการตรวจสอบแรงขันน๊อตอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ภายหลังจากการใช้งานโดยอ้างอิงค่าแรงขันน๊อตจากตารางที่กำหนดให้สำหรับอุปกรณ์
52
อุปกรณ์ PFC และมิเตอร์ Cos Phi
53
การต่อมิเตอร์ Cos Phi ใช้งาน
54
การปรับตั้งค่า Power Factor Controller (PFC.)
55
Power Factor Controller
57
I at phase A V at B and C Compare Phase Shift between Vbc and Va about 90 degree
58
Protection Device
59
Thermal + magnetic Prot.
63
Wiring Diagram Phase Shift = 90 o Vc Va Ia Vb -Vc Vbc
Vbc & Va Vbc = Vb-Vc จะทำให้ Vbc ห่างกันจาก Va ต่างกัน 90o การตั้งต้องตั้งให้ phase shift = 90o Vb -Vc Vbc Phase Shift = 90 o
66
ABB only use this formula Schnieder 2/3 not present
C/K setting C/K: ค่ากระแสเริ่มต้นในการทำงานของชุด PF Controller Three phase : This formula use in ABB on ! Single phase : ABB only use this formula Schnieder 2/3 not present
67
C/K Table
68
การกำหนดค่า C/K ที่ถูกต้อง
Q (kVAR) Target Cos + + + C/K as Tap of Transformer + t (Sec) C1 ON C2 ON C3 ON C4 ON
69
การกำหนดค่า C/K ที่ถูกต้อง
Q (kVAR) ไม่ถึงค่าเป้าหมาย Target Cos + + + C/K as Tap of Transformer + t (Sec) C1 ON C2 ON C3 ON C4 ON
70
Switching Sequence 1:2:4:8:8:……:8 1:1:1:1:1:……:1 1:2:2:2:2:……:2
1:1:2:4:8:……:8 1:1:2:2:2:……:2 1:2:3:3:3:……:3 1:2:4:4:4:……:4 1:1:2:3:3:……:3 1:1:2:4:4:……:4 1:2:3:6:6:……:6
71
Preloaded Sequence: Sequence: 1 : 1 : 1 : 1 : 1 C1 C2 C3 C4 C5
Switching Sequence Preloaded Sequence: C C C C C5 25 kVAR 25 kVAR 25 kVAR 25 kVAR 25 kVAR Sequence: : : : :
72
Customized Sequence: Sequence: 1 : 1 : 2 : 4 : 4 C1 C2 C3 C4 C5
Switching Sequence Customized Sequence: C C C C C5 25 kVAR 25 kVAR 50 kVAR kVAR kVAR Sequence: : : : :
73
Sequence Linear C1 C2 C3 C4 C5 …… C11 C12 ….. ….. ….. ….. …..
Switching Sequence C C C C C5 …… C11 C12 Sequence Linear ….. ….. Linear จะปลดตัวสุดท้ายก่อน ปลดตัวแรกสุดท้าย ….. ….. …..
74
Sequence Circular C1 C2 C3 C4 C5 …… C11 C12 ….. ….. ….. ….. …..
Switching Sequence C C C C C5 …… C11 C12 Sequence Circular ….. ….. Circular ตัวเข้าก่อน ออกก่อน ….. ….. …..
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.