ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นัยน์ตาและส่วนประกอบ
ส่วนประกอบภายนอกตา ขอบหนังตาบน ต่อมน้ำตา กล้ามเนื้อตา ลูกตา ขนตา
2
นัยน์ตาและส่วนประกอบ
ส่วนประกอบภายในตา 1. กระจกตา(คอร์เนีย) ทำหน้าที่ในการหักเหแสงมี ลักษณะใส ไม่มีเส้นเลือด ประกอบด้วยชั้นต่างๆ 5ชั้น เป็นส่วนปลายของเส้นประสาท ทำให้ไวต่อ ความรู้สึก
3
นัยน์ตาและส่วนประกอบ
ส่วนประกอบภายในตา 2. เลนส์ตา เป็นส่วนที่มี หน้าที่หักเหแสงและโฟกัส ภาพ มีลักษณะคล้ายเลนส์ นูนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เป็นส่วนที่ใช้ในการเพ่ง
4
นัยน์ตาและส่วนประกอบ
ส่วนประกอบภายในตา 3. เอ็นยึดเลนส์ เป็นเส้น เอ็นเล็กๆ ที่เหนียว ทำ หน้าที่ยึดเลนส์ตาให้อยู่ใน ตำแหน่งปกติ
5
นัยน์ตาและส่วนประกอบ
ส่วนประกอบภายในตา 4. กล้ามเนื้อตา เป็นส่วนฐานของม่านตา ทำหน้าที่ช่วยในกระบวน การเพ่ง
6
นัยน์ตาและส่วนประกอบ
ส่วนประกอบภายในตา 5. เส้นประสาท มีหน้าที่นำ ภาพทั้งหมดที่ปรากฏขึ้น ไปสู่สมอง โดยสมองจะทำ หน้าที่ แปรผลว่าภาพที่ เห็นนั้นคือวัตถุอะไร
7
นัยน์ตาและส่วนประกอบ
ส่วนประกอบภายในตา 6. ของเหลวใส หรือ น้ำวุ้น ช่องตา มีลักษณะเป็น ของเหลวใส มีความหนืด คล้ายเจล อยู่หลังเลนส์ตา ช่วยรักษารูปทรงของลูกตา ให้อยู่ในสภาวะปกติ
8
นัยน์ตาและส่วนประกอบ
ส่วนประกอบภายในตา 7. ม่านตา(พิวพิล) ลักษณะรูกลมขนาด 4–5 ม.ม. อยู่กึ่งกลางม่านตาสามารถ หดตัวให้เล็กลงเมื่ออยู่ในที่ที่มี แสงสว่างมากและขยายใหญ่ขึ้น เมื่ออยู่ในที่มืด เป็นส่วนที่ยอมให้ แสงผ่านเข้าไปในโครงสร้างตา ภายใน ทำหน้าที่ควบคุมปริมาณ แสงให้พอเหมาะ
9
นัยน์ตาและส่วนประกอบ
ส่วนประกอบภายในตา 8. จอรับภาพ( เรตินา ) คืออวัยวะที่ทำหน้าที่ รับภาพ คล้ายกับฟิล์มใน กล้องถ่ายรูป
10
การมองเห็นของนัยน์ตา
นัยน์ตาทำหน้าที่รับรู้สิ่งต่างๆ เช่น กลางวัน กลางคืน ใกล้ หรือ ไกล สีสันของวัตถุ ตลอดจนรับรู้ข่าวสารต่างๆ โดยอาศัยสมองเป็นตัวประมวลผลสิ่งที่มองเห็น
11
สายตาคนปกติ สายตาปกติ
คนสายตาปกติจะมองวัตถุโดยไม่ต้องเพ่งเมื่อวัตถุนั้นห่างจากตาประมาณ 25 cm ถ้าใกล้กว่านี้จะเริ่มมองเห็นไม่ชัด เราเรียกระยะนี้ว่า “ระยะใกล้ตา” ส่วนระยะไกลที่คนสายตาปกติมองเห็น คือ ระยะอนันต์ เช่น การดูดาวบนท้องฟ้า เราเรียกระยะนี้ว่า “ระยะไกลตา”
12
สายตาสั้น คนที่มีสายตาสั้น ระยะใกล้ตาจะน้อยกว่า 25 cm และระยะไกลตาไม่ถึงระยะอนันต์ ภาพของวัตถุจะเกิดก่อนบริเวณ เรตินา ทำให้มองวัตถุไม่ชัดเจน สาเหตุของสายตาสั้นอาจเกิดจากกระบอกตายาวเกินไป
13
สายตาสั้น หรือเลนส์แก้วตามีผิวนูนโค้งกว่าปกติทำให้ความยาวโฟกัสของเลนส์ตาสั้นเกินไป ดังนั้นภาพที่ระยะไกลๆ จึงไม่ไปตกที่เรตินา แต่อยู่หน้าเรตินา เรตินา
14
วิธีแก้สายตาสั้น เรตินา
การแก้ไขทำได้โดยสวมแว่นตาที่ทำด้วยเลนส์เว้าที่มีความยาวโฟกัสพอเหมาะ เลนส์เว้าจะช่วยกระจายแสงหรือถ่างแสงออก ให้ภาพเลื่อนไปตกที่เรตินาพอดี ทำให้เห็นวัตถุที่อยู่ไกลได้ชันเจน
15
สายตายาว คนที่มีสายตายาว ระยะใกล้ตาจะมากกว่า 25 cm ระยะไกลอยู่ที่ระยะอนันต์ ภาพของวัตถุที่เห็นจะเกิดหลังเรตินา ทำให้มองเห็นวัตถุที่ระยะไกลๆได้ชัดเจน แต่ระยะใกล้ไม่ชัดเจน เรตินา
16
สายตายาว สาเหตุอาจเกิดจากกระบอกตาสั้น หรือ กล้ามเนื้อยึดเลนส์ตาขาดความยืดหยุ่น หรือเลนส์แก้วตาขาดความยืดหยุ่น ดังนั้นภาพที่อยู่ระยะใกล้ๆจึงตกเลย เรตินาไป
17
วิธีแก้ไขสายตายาว เรตินา
การแก้ไขทำได้โดยสวมแว่นที่ทำด้วยเลนส์นูน ที่มีความยาวโฟกัสพอเหมาะ เลนส์นูนจะช่วยรวมแสงให้ภาพเลื่อนไปตกที่เรตินาพอดี ทำให้เห็นวัตถุที่อยู่ใกล้ได้ชัดเจน
18
การตอบสนองของนัยน์ตาต่อความเข้มของแสง
เนื่องจากนัยน์ตาเป็นอวัยวะที่มีความไวต่อแสงมาก สามารถรับรู้ได้เมื่อมีแสงสว่างเพียงเล็กน้อย เช่น แสงจากดวงดาวที่อยู่ไกลในคืนเดือนมืดจนถึงแสงสว่างที่มีปริมาณมาก ทั้งนี้เนื่องจาก เรตินาจะมีเซลล์รับแสง 2 ชนิด คือ
19
การตอบสนองของนัยน์ตาต่อความเข้มของแสง
1. เซลล์รูปแท่ง(Rod Cell) ทำหน้าที่รับแสงสว่าง ที่ไวมาก สามารถมองเห็นภาพขาวดำ เซลล์ รูปแท่งจะไวเฉพาะต่อแสงที่มีความเข้มน้อย โดยจะไม่สามารถจำแนกสีของแสงนั้นได้ เซลล์รูปแท่ง
20
การตอบสนองของนัยน์ตาต่อความเข้มของแสง
2. เซลล์รูปกรวย(Cone Cell)จะไวเฉพาะต่อแสงที่มีความเข้มสูงถัดจากความไวของเซลล์รูปแท่ง และสามารถจำแนกแสงแต่ละสีได้ด้วย เซลล์รูปกรวยมี 3 ชนิด แต่ละชนิดจะมีความไวต่อแสงสีปฐมภูมิต่างกัน เซลล์รูปกรวย
21
การตอบสนองของนัยน์ตาต่อความเข้มของแสง
เซลล์รูปกรวย มีความไวสูงสุดต่อแสงสีน้ำเงิน มีความไวสูงสุดต่อแสงสีเขียว มีความไวสูงสุดต่อแสงสีแดง
22
การตอบสนองของนัยน์ตาต่อความเข้มของแสง
เมื่อมีแสงสีต่างๆ ผ่านเข้าตา มากระทบเรตินา เซลล์รับ แสงรูปกรวยจะถูกกระตุ้น และสัญญาณกระตุ้นนี้จะถูก ส่งผ่านประสาทตาไปยัง สมอง เพื่อแปรความหมาย ออกมาเป็นความรู้สึกเห็น เป็นสีของแสงนั้น ๆ
23
ผลการตอบสนองของนัยน์ตา
24
ผลการตอบสนองของนัยน์ตา
25
ผลของความเข้มของแสงต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
แหล่งกำเนิดแสงที่มีความเข้ม แสงมากๆ เช่นดวงอาทิตย์ หลอดไฟฟ้า มีผลต่อนัยน์ตา สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น สัตว์ที่หา กินในเวลากลางคืน ได้แก่ กระต่าย เสือ แมว นกเค้า เป็นต้น สัตว์พวกนี้จะออกหา กินในเวลากลางคืน
26
ผลของความเข้มของแสงต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
เพราะว่าในเรตินาของสัตว์ พวกนี้มีเซลล์ประสาทรูปแท่ง จำนวนมาก ซึ่งเซลล์เหล่านี้จะ ทำงานได้ดีในที่ที่มีความเข้ม ของแสงน้อย ซึ่งภาพที่เห็นจะ เป็นภาพขาวดำไม่มีรายละเอียด
27
ผลของความเข้มของแสงต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ยูกรีน่า เป็นโพรติสต์ขนาดเล็ก จะมี eyespot เป็นจุดทำ หน้าที่รับแสงสว่าง ไส้เดือนดิน มีเซลล์ที่ไวต่อความเข้ม ของแสงอยู่ที่ผิวหนัง ทำให้มันรับรู้ได้ ว่าแสงสว่างอยู่ที่ใด
28
ผลของความเข้มของแสงต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ปลาหมึก กุ้ง ปู แมลง มีอวัยวะรับแสงที่พัฒนาขึ้น นอกจากรับแสงแล้วยังสามารถสร้างภาพได้อีกด้วย นัยน์ตาของสัตว์เหล่านี้เป็น ตาประกอบ ซึ่งประกอบด้วย หน่วยรับแสงเล็กๆ เป็นจำนวนมาก
29
ผลของความเข้มของแสงต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ถ้ามีแสงสว่างน้อยสัตว์เหล่านี้จะมองเห็นไม่ชัด ดังนั้นจึง ต้องมีการดัดแปลงให้ pigment มารวมกันตอนใด ตอนหนึ่งเพื่อจะได้รับแสงสว่างได้มากขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.