ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAlexandra Havlíčková ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
2
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ
3
การจัดการพลังงานในอาคารควบคุมภาครัฐ 8 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานด้านการจัด การพลังงาน ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานการณ์การจัดการพลังงาน เบื้องต้น ขั้นตอนที่ 3 นโยบายอนุรักษ์พลังงาน
4
การจัดการพลังงานในอาคารควบคุมภาครัฐ 8 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน ขั้นตอนที่ 5 เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน และแผนอนุรักษ์พลังงาน ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติตามแผนฯ การตรวจสอบและการ วิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและ แผนการอนุรักษ์พลังงาน
5
การจัดการพลังงานในอาคารควบคุมภาครัฐ 8 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 7 การตรวจติดตาม และการประเมิน ระบบการจัดการพลังงาน ขั้นตอนที่ 8 การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไข ข้อบกพร่องของระบบการจัดการ พลังงาน
6
ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานด้านการจัดการพลังงาน
จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานการจัดการพลังงาน ตามคำสั่ง กรมควบคุมโรคที่ 897/2555 สั่ง ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2555 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัด การพลังงาน ตามคำสั่ง กรมควบคุมโรคที่ 898/2555 สั่ง ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2555
7
ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานการณ์การ จัดการพลังงานเบื้องต้น
ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานการณ์การ จัดการพลังงานเบื้องต้น
8
เป้าหมาย ปัจจุบัน การประเมินองค์กรโดย Energy Management Matrix
1. นโยบายการจัดการพลังงาน 2. การจัดการองค์กร 3. การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ 4. ระบบข้อมูลข่าวสาร 5. ประชาสัมพันธ์ 6. การลงทุน 4 มีนโยบายการจัดการ พลังงานจากฝ่ายบริหาร และถือเป็นส่วนหนึ่งของ นโยบายของบริษัท มีการจัดองค์กรและเป็น โครงสร้างส่วนหนึ่งของฝ่าย บริหาร กําหนดหน้าที่ความ รับผิดชอบไว้ชัดเจน มีการประสานงานระหว่าง ผู้รบผิดชอบด้านพลังงาน และทีมงานทุกระดับอย่างสม่ำเสมอ กําหนดเป้าหมายที่ ครอบคลุมติดตามผลหา ข้อผิดพลาดประเมินผลและ ควบคุมการใช้งบประมาณ ประชาสัมพันธ์คุณค่าของ การประหยัดพลังงานและ ผลการดำเนินงานของ การประหยัดพลังงาน จัดสรรงบประมาณโดย ละเอียดโดยพิจารณาถึง ความสำคัญของโครงการ 3 มีนโยบายและมีการสนับสนุนเป็นครั้งคราวจากฝ่ายบริหาร ผู้รับผิดชอบพลังงานรายงาน โดยตรงต่อคณะกรรมการจัด การพลังงาน ซึ่งประกอบด้วย หัวหน้าฝ่ายต่างๆ คณะกรรมการอนุรักษ์ พลังงานเป็นช่องทางหลัก ในการดําเนินงาน แจ้งผลการใช้พลังงานจาก มิเตอร์ย่อยให้แต่ละฝ่าย ทราบแต่ไม่มีการแจ้งถึงผล การประหยัด ให้พนักงานรับทราบ โครงการอนุรักษ์พลังงาน และให้มีการประชาสัมพันธ์ อย่างสม่ำเสมอ ใช้ระยะเวลาคุ้มทุนเป็น หลักในการพิจารณาการ ลงทุน 2 ไม่มีการกําหนดนโยบาย ที่ชัดเจนโดยผู้บริหารหรือ ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ผู้รับผิดชอบพลังงานรายงานต่อคณะกรรมการจัดเฉพาะกิจ แต่สายงานบังคับบัญชาไม่ชัดเจน คณะกรรมการเฉพาะกิจ เป็นผู้ดำเนินการ ทำรายงานติดตามประเมินผล โดยดูจากมิเตอร์ให้คณะกรรมการเฉพาะกิจเข้ามา เกี่ยวข้องกับการตั้งงบประมาณ จัดฝึกอบรมให้พนักงาน รับทราบเป็นครั้ง ลงทุนโดยดูมาตรการที่มี ระยะเวลาคุ้มทุนเร็ว 1 ไม่มีแนวทางปฏิบัติที่ทำไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร ผู้รับผิดชอบพลังงานมีขอบเขต หน้าที่ความรับผิดขอบจำกัด มีการติดต่ออย่างไม่เป็น ทางการระหว่างวิศวกรกับ ผู้ใช้พลังงาน (พนักงาน) มีการสรุปรายงานด้านค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานเพื่อใช้กัน ภายในฝ่ายวิศวกรรม แจ้งให้พนักงานทราบ อย่างไม่เป็นทางการเพื่อ ส่งเสริมการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ พิจารณาเฉพาะมาตรการที่ ลงทุนต่ำ ไม่มีนโยบายที่ชัดเจน ไม่มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ไม่มีการติดต่อกับผู้ใช้พลังงาน ไม่มีระบบรวบรวมข้อมูล และบัญชีการใช้พลังงาน ไม่มีการสนับสนุน การประหยัดพลังงาน ไม่มีการลงทุนใดๆ ในการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการ ใช้พลังงาน เป้าหมาย ปัจจุบัน
9
ขั้นตอนที่ 3 นโยบายอนุรักษ์พลังงาน
10
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน
11
ขั้นตอนที่ 5 เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและแผนอนุรักษ์พลังงาน
ลำดับ มาตรการ วัตถุประสงค์ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ เริ่มต้น สิ้นสุด 1 ถอดหลอดไฟออก ในบริเวณที่มีแสงสว่างมากเกินความจำเป็น เพื่อลดปริมาณการใช้พลังงานด้านแสงสว่าง โดยการใช้แสงธรรมชาติเข้ามาช่วย มกราคม ธันวาคม คณะทำงาน 2 ลดชั่วโมงการทำงานของเครื่องปรับอากาศ เนื่องจากเครื่องปรับอากาศเป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้พลังงานสูง คณะท
12
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติตามแผนฯ การตรวจสอบและการวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนการอนุรักษ์พลังงาน จากการประชุมของคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2555 ได้ร่วมกันกำหนดมาตรการการประหยัดพลังงาน ประจำปี พ.ศ.2555 และสำนักงานเลขานุการกรม ได้จัดทำหนังสือเวียนที่ สธ /ว 347 ลงวันที่ 25 กรกฎาคม 2555 แจ้งให้หน่วยงานในสังกัดกรมทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน
13
ขั้นตอนที่ 7-8 การตรวจติดตามและการประเมินระบบการจัดการพลังงาน “อยู่ในระหว่างการดำเนินการ” การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของระบบการจัดการพลังงาน “อยู่ในระหว่างการดำเนินการ”
14
ร่างหลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจประเมิน
คณะผู้ตรวจประเมิน ต้องมีความเป็นกลางและอิสระในการ ดำเนินงาน การเข้าตรวจประเมิน จะไม่แจ้งล่วงหน้าให้ทราบ การตรวจประเมินจะตรวจตามแบบฟอร์ม โดยยึดตามมาตรการ อนุรักษ์พลังงาน แต่ละหน่วยงาน ต้องผ่านเกณฑ์การตรวจประเมินอย่างน้อย ร้อยละ 80 (20 ข้อ)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.