งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต
แนวทางการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงครึ่งหลังของแผนฯ 10 สู่การปฏิบัติ โดย รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต ( นพ. วชิระ เพ็งจันทร์ ) 7 สิงหาคม โรงแรมริชมอนด์

2 สถานการณ์ที่ท้าทายประชาชนคนไทย
วิกฤตความรุนแรงในสังคม วิกฤตทางการเมือง วิกฤตโรคติดต่ออุบัติใหม่ วิกฤตทางเศรษฐกิจ ภัยธรรมชาติ วิกฤต ผลกระทบ สุขภาพจิตประชาชน กรมสุขภาพจิต ได้รับ งบประมาณลดลง 2

3 สิ่งท้าทาย กรมสุขภาพจิต และทีมสุขภาพจิต จะทำอย่างไรที่จะ.....
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้ประสบผลสำเร็จ คนไทยมีพลังสุขภาพจิตที่เข้มแข็ง(RQ) สามารถปรับตัวได้ ในสถานการณ์ที่ท้าทายอย่างมีความสุข 3

4 ระดับนโยบาย ระดับพื้นที่
กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ปี 2553 กำหนดประเด็นเข็มมุ่งภายใต้ยุทธ์ คัดเลือกและบูรณาการโครงการสำคัญที่จะส่งผลต่อความสำเร็จของยุทธ์กรมฯ โดยใช้ต้นทุนเดิม(พื้นที่/องค์ความรู้/เครือข่าย) แสวงหางบประมาณ/แหล่งทุนสนับสนุน ยุทธ์ประชาชน ยุทธ์เครือข่าย มิย.52- กย.53 ระดับนโยบาย ยุทธ์บริการ/วิชาการ ยุทธ์เด็ก สค.52-กย.53 นำโครงการที่คกก.บริหารยุทธ์คัดเลือกมาบูรณาการกิจกรรมให้ครอบคลุมทั้ง กลุ่ม ทำงานร่วมกันระหว่าง รพ.จิตเวช / ศูนย์ฯเขต / คปสจ. แสวงหางบประมาณสนับสนุน ควบคุมกำกับการดำเนินงานให้บรรลุผลสำเร็จ ผ่านกลไกของคกก.บูรณาการยุทธศาสตร์ คกก.พื้นที่ 5 ภาค กลุ่มหน่วย บริการ ระดับพื้นที่ กลุ่มเครือข่าย นอกระบบบริการ กลุ่มเครือข่าย ในระบบบริการ กลุ่มเครือข่าย ภาคประชาชน 4

5 ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต
ในช่วงครึ่งหลังของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ ) บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน IDP และมีผลการปฏิบัติงาน ดี ประชาชนมีสุขภาพจิตดี ประชาชนสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม สถานบริการใน / นอกกระทรวงฯ ได้รับความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ.สุขภาพจิต ฐานข้อมูลครอบคลุม/ทันสมัย / ใช้ประโยชน์ได้ การบริหารจัดการองค์กร มีประสิทธิภาพ / คุณภาพ คลังความรู้วิชาการทันสมัย / เข้าถึงได้ / จัดการความรู้(KM) งานวิจัย/องค์ความรู้ มีคุณภาพมาตรฐาน กลุ่มเป้าหมาย มีความพึงพอใจรูปแบบ/ ช่องทางการถ่ายทอด องค์ความรู้ หน่วยบริการ ผ่านการรับรองมาตรฐาน HA ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ตติยภูมิ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Excellence Center ยุทธศาสตร์ที่ 4ความเป็นเลิศเฉพาะทางบริการจิตเวช ศูนย์กลางการศึกษาดูงานและฝึกอบรมด้านสุขภาพจิต หน่วยบริการมีความเป็นเลิศเฉพาะทาง คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินผลตามคำรับรอง ≥ 4.5 เครือข่ายสถานบริการสาธารณสุขในจังหวัด ได้รับการพัฒนาศักยภาพ องค์กรนอกระบบบริการ ในจังหวัดได้รับการพัฒนา/ประสาน ยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนาเครือข่ายในและนอกระบบสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุข ในจังหวัดมีการจัดระบบบริการสุขภาพจิตตามเกณฑ์ เครือข่ายนอกระบบบริการ ในจังหวัด มีการบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับงานของตน งานวิจัย/องค์ความรู้ ถูกนำไปใช้ประโยชน์ ผู้ใช้คลังความรู้ มีความพึงพอใจ ผลการประเมิน PMQA ≥ 350 คะแนน/ได้รางวัลTQC ยุทธศาสตร์ที่ 5ประสิทธิภาพการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร การบริหารจัดการนโยบาย/ยุทธศาสตร์ มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล ระบบ IT มีคุณภาพ บุคลากรมี ความผูกพันต่อกรมฯ ประชาชนรับรู้/เข้าถึง แหล่งบริการสุขภาพจิต อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.5 ต่อแสน ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพประชาชน เข้าถึงบริการ ให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต รณรงค์ส่งเสริมความรู้ แก่ประชาชน ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิต หมู่บ้าน/ชุมชนให้การยอมรับ ผู้ที่อยู่กับปัญหาlสุขภาพจิต มีชุมชนต้นแบบ ในการดูแลสุขภาพจิต องค์กรในต่างประเทศ ประสานความร่วมมือ ทางวิชาการ อย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 3 ศูนย์กลางวิชาการสุขภาพจิต 5

6 ค่าประมาณการความชุก คิดเป็นอัตราต่อแสน
ผล โรคทางจิตเวช ค่าประมาณการความชุก คิดเป็นอัตราต่อแสน ทั่วประเทศ กทม. กลาง อีสาน เหนือ ใต้ Major depressive Episode Current Recurrent 633.89 655.54 718.48 481.40 517.69 Dysthymia Current 406.46 598.12 208.58 217.72 612.69 388.27 Hypomanic Episode Past 270.98 455.71 357.57 304.81 131.29 787.75 280.41 992.23 Manic Episode 106.46 585.50 227.86 29.80 297.97 130.63 370.13 21.88 525.16 129.42 668.68 6

7 ค่าประมาณการความชุก คิดเป็นอัตราต่อแสน
ผล โรคทางจิตเวช ค่าประมาณการความชุก คิดเป็นอัตราต่อแสน ทั่วประเทศ กทม. กลาง อีสาน เหนือ ใต้ Panic Disorder Lifetime without Agoraphobia, Current with Agoraphobia, Current 280.65 169.36 111.29 313.30 256.34 56.96 268.18 89.39 178.78 261.27 108.86 152.41 262.58 196.94 65.65 301.98 194.13 107.85 Agoraphobia without history of panic disorder, Current 377.43 284.82 148.99 391.90 437.64 539.26 Posttraumatic Stress Disorder, Current 212.91 29.80 328.23 129.42 Generalized Anxiety Disorder, Current 624.21 427.23 595.95 805.57 940.92 7

8 ค่าประมาณการความชุก คิดเป็นอัตราต่อแสน
ผล โรคทางจิตเวช ค่าประมาณการความชุก คิดเป็นอัตราต่อแสน ทั่วประเทศ กทม. กลาง อีสาน เหนือ ใต้ Alcohol Dependence, Current Alcohol Abuse, Current Mood Disorder with psychotic features Lifetime Current 208.07 111.29 341.78 113.93 89.39 59.59 174.18 152.41 262.58 131.29 172.56 86.28 Psychotic Disorders 658.09 333.88 854.46 455.71 238.38 762.03 391.90 831.51 525.16 539.26 194.13 8

9 THE CONTEXT OF THE ASIA-PACIFIC REGION AND COMMUNITY MENTAL HEALTH
Thailand 1.25 : 1,000 Psychiatric beds per1,000 as cited from OECD Health Data 2002 and 2007

10 MENTAL HEALTH RESOURCES
Human Resources Number Population per staff Psychiatrist 445 140,265 Psychiatric Nurse 1,868 33,414 Psychologist 230 271,383 Social Worker 214 291,673 Occupational therapist 56 1,114,606 Percentage of the budget of the DMH to the budget of MoPH, fiscal year Mental Health in Thailand : Department of Mental Health Ministry of Public Health,

11 โครงการ/กิจกรรม ปี 2553 ที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่เป้าหมายความสำเร็จ
บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน IDP และมีผล การปฏิบัติงานดี ประชาชนมีสุขภาพจิตดี ประชาชนสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม สถานบริการใน / นอกกระทรวงฯ ได้รับความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ.สุขภาพจิต ฐานข้อมูลครอบคลุม/ทันสมัย / ใช้ประโยชน์ได้ การบริหารจัดการองค์กร มีประสิทธิภาพ / คุณภาพ คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินผลตามคำรับรอง ≥ 4.5 ผลการประเมิน PMQA ≥ 350 คะแนน/ได้รางวัลTQC ยุทธศาสตร์ที่ 5ประสิทธิภาพการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร การบริหารจัดการนโยบาย/ยุทธศาสตร์ มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล ระบบ IT มีคุณภาพ บุคลากรมี ความผูกพันต่อกรมฯ อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.5 ต่อแสน พัฒนาพื้นฐานองค์กร โครงการ/กิจกรรมที่รองรับยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาศักยภาพบุคลากร (ป.โท / PG / 11 วิชาชีพ/ แพทย์ประจำบ้าน/ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น/ป.ตรี ,โท จิตวิทยาคลินิก) HR Scorecard บริหารความเสี่ยง (RM ) KM บริหารแผน/ประเมินผล GFMIS PMQA IT 11

12 โครงการ/กิจกรรม ปี 2553 ที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่เป้าหมายความสำเร็จ
ประชาชนมีสุขภาพจิตดี ประชาชนสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม คลังความรู้วิชาการทันสมัย เข้าถึงได้/จัดการความรู้ (KM) งานวิจัย/องค์ความรู้ มีคุณภาพมาตรฐาน กลุ่มเป้าหมาย มีความพึงพอใจรูปแบบ/ ช่องทางการถ่ายทอด องค์ความรู้ หน่วยบริการ ผ่านการรับรอง HA ผ่านเกณฑ์ตติยภูมิ ผ่านเกณฑ์Excellence Center ยุทธศาสตร์ที่ 4ความเป็นเลิศเฉพาะทางบริการจิตเวช ศูนย์กลางการศึกษาดูงานและฝึกอบรมด้านสุขภาพจิต หน่วยบริการมีความเป็นเลิศเฉพาะทาง งานวิจัย/องค์ความรู้ ถูกนำไปใช้ประโยชน์ ผู้ใช้คลังความรู้ มีความพึงพอใจ อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนปชก. องค์กรในต่างประเทศ ประสานความร่วมมือทางวิชาการ อย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 3 ศูนย์กลางวิชาการสุขภาพจิต พัฒนาองค์ความรู้และบริการ โครงการ/กิจกรรมที่รองรับยุทธศาสตร์ที่ 3 /4 งานวิจัยทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 6 เรื่อง ประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ พัฒนาวิชาการด้านพันธุศาสตร์จิตเวชศาสตร์ (SP2) ความร่วมมือระหว่างประเทศ พัฒนาองค์ความรู้เด็กติดเกม พัฒนาคุณภาพบริการสุขภาพจิตและจิตเวชทุกระดับ พัฒนาคลังความรู้และฐานข้อมูล พัฒนาระบบกองทุนผู้ป่วยจิตเวชร่วมกับ สปสช. ตลาดนัดความรู้ ( KM ) พัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับคนพิการทางจิตเด็ก-ผู้ใหญ่ ร่วมกับ สปสช. (ปี บาท/ประชากร หน่วยบริการสู่ชุมชน)

13 โครงการ/กิจกรรม ปี 2553 ที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่เป้าหมายความสำเร็จ
ประชาชนมีสุขภาพจิตดี ประชาชนสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม เครือข่ายสถานบริการสาธารณสุขในจังหวัด ได้รับการพัฒนาศักยภาพ องค์กรนอกระบบบริการ ในจังหวัดได้รับ การพัฒนา/ประสาน ยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนาเครือข่ายในและนอกระบบสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุข ในจังหวัดมีการจัดระบบบริการสุขภาพจิตตามเกณฑ์ เครือข่ายนอกระบบบริการ ในจังหวัด มีการบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับงานของตน อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนปชก. ผ่านเครือข่าย โครงการ/กิจกรรมที่รองรับยุทธศาสตร์ที่ 2 IQ/EQ(สปสช.) ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า บริการเด็กที่มีปัญหาบกพร่องทางพัฒนาการ(สปสช.) คัดกรองผู้สูงอายุซึมเศร้า(สปสช.) สุขภาพจิตเด็กกลุ่มเสี่ยง (อปท./สพฐ.ฯ) พัฒนาระบบและรูปแบบการบำบัดผู้มีปัญหาติดสุรา (สสส.) บูรณาการงานสุขภาพจิตสู่เครือข่ายนอกระบบฯ พัฒนาระบบสุขภาพจิตปฐมภูมิในวัดร่วมกับรพ.สงฆ์ กรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพระบบบริการฯใน รพศ./รพท./รพช./PCU เผยแพร่กฎหมายสุขภาพจิต เฝ้าระวังและช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย พัฒนา/ปรับปรุงระบบโทรศัพท์ 1323 (SP2) 13

14 โครงการ/กิจกรรม ปี 2553 ที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่เป้าหมายความสำเร็จ
ประชาชนมีสุขภาพจิตดี ประชาชนสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม ประชาชนรับรู้/เข้าถึง แหล่งบริการสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพประชาชน เข้าถึงบริการ ให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต รณรงค์ส่งเสริมความรู้ แก่ประชาชน ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิต หมู่บ้าน/ชุมชน ให้การยอมรับ ผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต มีชุมชนต้นแบบ ในการดูแลสุขภาพจิต อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนปชก. สู่ประชาชน โครงการ/กิจกรรมที่รองรับยุทธศาสตร์ที่ 1 TO BE NUMBER ONE เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต (RQ / IQ / EQ / Suicide Prevention / Depression Screening Day ) วิกฤตชายแดนใต้ อุณหภูมิใจ ฟื้นฟูและติดตามผู้ได้รับผลกระทบจากสึนามิ สัปดาห์สุขภาพจิตแห่งชาติ (1-7 พฤศจิกายน 2552) พัฒนาชุมชนต้นแบบระดับตำบล 1 จังหวัด 1 ชุมชน 14

15 ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต
ในช่วงครึ่งหลังของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ ) บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน IDP และมีผลการปฏิบัติงาน ดี ประชาชนมีสุขภาพจิตดี ประชาชนสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม สถานบริการใน / นอกกระทรวงฯ ได้รับความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ.สุขภาพจิต ฐานข้อมูลครอบคลุม/ทันสมัย / ใช้ประโยชน์ได้ การบริหารจัดการองค์กร มีประสิทธิภาพ / คุณภาพ คลังความรู้วิชาการทันสมัย / เข้าถึงได้ / จัดการความรู้(KM) งานวิจัย/องค์ความรู้ มีคุณภาพมาตรฐาน กลุ่มเป้าหมาย มีความพึงพอใจรูปแบบ/ ช่องทางการถ่ายทอด องค์ความรู้ หน่วยบริการ ผ่านการรับรองมาตรฐาน HA ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ตติยภูมิ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Excellence Center ยุทธศาสตร์ที่ 4ความเป็นเลิศเฉพาะทางบริการจิตเวช ศูนย์กลางการศึกษาดูงานและฝึกอบรมด้านสุขภาพจิต หน่วยบริการมีความเป็นเลิศเฉพาะทาง คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินผลตามคำรับรอง ≥ 4.5 เครือข่ายสถานบริการสาธารณสุขในจังหวัด ได้รับการพัฒนาศักยภาพ องค์กรนอกระบบบริการ ในจังหวัดได้รับการพัฒนา/ประสาน ยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนาเครือข่ายในและนอกระบบสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุข ในจังหวัดมีการจัดระบบบริการสุขภาพจิตตามเกณฑ์ เครือข่ายนอกระบบบริการ ในจังหวัด มีการบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับงานของตน งานวิจัย/องค์ความรู้ ถูกนำไปใช้ประโยชน์ ผู้ใช้คลังความรู้ มีความพึงพอใจ ผลการประเมิน PMQA ≥ 350 คะแนน/ได้รางวัลTQC ยุทธศาสตร์ที่ 5ประสิทธิภาพการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร การบริหารจัดการนโยบาย/ยุทธศาสตร์ มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล ระบบ IT มีคุณภาพ บุคลากรมี ความผูกพันต่อกรมฯ ประชาชนรับรู้/เข้าถึง แหล่งบริการสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพประชาชน เข้าถึงบริการ ให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต รณรงค์ส่งเสริมความรู้ แก่ประชาชน ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิต หมู่บ้าน/ชุมชนให้การยอมรับ ผู้ที่อยู่กับปัญหาlสุขภาพจิต มีชุมชนต้นแบบ ในการดูแลสุขภาพจิต องค์กรในต่างประเทศ ประสานความร่วมมือ ทางวิชาการ อย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 3 ศูนย์กลางวิชาการสุขภาพจิต อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนปชก. 15

16 แนวทางในการบริหารและการขับเคลื่อนโครงการฯ
1. การบริหารดำเนินงานโดยPM จะคงไว้เฉพาะโครงการที่มีลักษณะในเชิงวิชาการที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะ โดยจะค่อยๆลดบทบาทลงภายในสิ้นแผนฯ10 และส่งผ่านความรู้ลงสู่พื้นที่ ทั้งนี้ PM จะต้องมีบทบาทในการขับเคลื่อนงานระดับชาติที่เป็นโครงการหลัก และเป็นตัวชี้วัดระดับกรม/กระทรวง รวมทั้งบทบาทในการแสวงหาแหล่งทุนในการสนับสนุนโครงการฯ 2. โครงการที่มีการดำเนินการโดยใช้องค์ความรู้แบบ Appropriate Technology ที่สามารถบูรณาการได้ง่าย ให้ใช้การบริหารการดำเนินงานในรูปแบบของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ 3. ควรกำหนดระยะเวลาการสิ้นสุดของโครงการฯที่บริหารโดย PM ให้ชัดเจน 16

17 แนวทางในการบริหารและการขับเคลื่อนโครงการฯ (ต่อ)
4. การบริหารการขับเคลื่อนโดยคณะกรรมการบูรณาการในระดับพื้นที่ 5 ภาค จะเริ่มหลังจากวันที่ 7 สิงหาคม เป็นต้นไป โดยจะต้องนำโครงการฯเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในพื้นที่ มาบูรณาการโดยคำนึงถึงต้นทุนเดิม และสภาพปัญหา / ความต้องการในพื้นที่ 5. การบริหารและการขับเคลื่อนในพื้นที่ระดับเขต 19 เขต ให้ความสำคัญในการวางแผนปฏิบัติการ ปี 2553,2554 ร่วมกันของคกก.ประสานงานสุขภาพจิตระดับเขต(คปสจ.) 6. กรมสุขภาพจิต จะให้ความสำคัญในการวิเคราะห์ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนปฏิบัติการ แผนบริหารงบประมาณ แผนเงินบำรุง ตลอดจนแผนติดตามประเมินผลประจำปี 2553 และ 2554 17

18 สู่ จาก เครือข่ายของการเรียนรู้ พลังแห่งความสำเร็จ
กระทรวงทบวงกรมเป็นอำนาจแยกส่วนเป็นแท่งๆ เป็นกลไกอำนาจมากกว่าปัญญา พาให้ไม่สำเร็จ เครือข่ายของการเรียนรู้ พลังแห่งความสำเร็จ ประเวศ วะสี, หนังสือปฏิรูปประเทศไทยระบบอุดมศึกษา ,2552 18

19 สู่ จาก ในแต่ละพื้นที่มีบุคคล องค์กร สถาบัน จำนวนมาก แต่ต่างคนต่างอยู่ จึงไม่มีพลังสร้างสรรค์ เซลล์สมองทางสังคม ทำหน้าที่เชื่อมโยงส่วนต่างๆ เข้ามาเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบัติ ทำให้เกิดพลังสร้างสรรค์ ไปสู่ความสำเร็จ ประเวศ วะสี ,หนังสือปฏิรูปประเทศไทยระบบอุดมศึกษา ,2552 19

20 ขอเป็นกำลังใจให้ทุกคน
รวมพลัง ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จ 20


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google