งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการ “1 หน่วยงาน 1 ความรู้”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการ “1 หน่วยงาน 1 ความรู้”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการ “1 หน่วยงาน 1 ความรู้”
การคาดการณ์พยากรณ์น้ำล่วงหน้า ลุ่มน้ำป่าสัก โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ สำนักชลประทานที่ ๑๐ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

2 วัตถุประสงค์โครงการ ใช้เพื่อการบริหารจัดการน้ำในเขตลุ่มน้ำป่าสัก ให้เกิดประสิทธิภาพ

3 ข้อมูลเบื้องต้น 1. โปรแกรม Microsoft Office Excel

4 ข้อมูลเบื้องต้น 2. พื้นที่ลุ่มน้ำป่าสัก **พื้นที่ตอนบนของอ่างเก็บน้ำ**
สถานีโทรมาตร พื้นที่ (ตร.กม.) TS-1 หล่มเก่า 1,338 TS-2 หล่มสัก 1,067 TS-3 ป่าเลา 808 TS-4 เพชรบูรณ์ 1,253 TS-5 หนองไผ่ 2,131 TS-6 วิเชียรบุรี 2,092 TS-7 บัวชุม 1,168 TS-8 ลำสนธิ 1,392 TS-10 เขื่อนป่าสักฯ 1,261 **พื้นที่ตอนบนของอ่างเก็บน้ำ**

5 3. สถานีวัดน้ำฝนในเขตลุ่มน้ำป่าสัก
ข้อมูลเบื้องต้น 3. สถานีวัดน้ำฝนในเขตลุ่มน้ำป่าสัก ลำดับที่ ชื่อสถานี ที่ตั้งสถานี ใช้วัดแทน ตำบล อำเภอ จังหวัด 1 อบต.โป่ง โป่ง ด่านซ้าย เลย 2 บ้านวังก้นหวด ศิลา หล่มเก่า เพชรบูรณ์ TS - 1 3 บ้านวังขอน ห้วยไร่ หล่มสัก 4 คุ้มบ้านติ้วน้อย 5 ร.ร.บ้านพร้าว บ้านเนิน 6 TS - 2 7 อบต.ทุ่งสมอ ทุ่งสมอ เขาค้อ 8 ร.ร.บ้านปากออก ปากช่อง 9 เมือง TS-3 , TS-4 10 วัดอภัยมณีรัตน์ ห้วยโป่ง หนองไผ่ TS-5 11 บ้านบึงสามพัน บึงสามพัน 12 ร.ร.บ้านซับอีลุม โคกปรง วิเชียรบุรี 13 เทศบาลเมือง TS-6 14 อบต.นิยมชัย นิยมชัย สระโบสถ์ ลพบุรี 15 อบต.ชัยนารายณ์ ชัยนารายณ์ ชัยบาดาล 16 กลุ่มอุตุนิยมวิทยา อุทกบัวชุม บัวชุม TS -7 , TS-8 17 ม่วงค่อม ม่วงคอม 18 โคกสลุง พัฒนานิคม 19 หนองบัว TS -10

6 ข้อมูลเบื้องต้น 4. สูตรที่ใช้ในการคำนวณ Q = C.I.A
C = Runoff Coefficient ( 0.35 ) I = Rainfall Intensity (mm./hr) A = Watershed Area (Sq.Km.)

7 ข้อมูลเบื้องต้น 5. ข้อมูลการคาดการณ์จากเว็บไซต์ ต่างประเทศและในประเทศ
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กรมอุตุนิยมวิทยา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา

8

9

10 กรอกข้อมูลปริมาณน้ำฝนที่ได้จากสถานีวัดน้ำฝน
ขั้นตอนการดำเนินการ 1.จัดทำตารางการคาดการณ์น้ำ พร้อมทั้งใส่สูตรการคำนวณในตาราง วันเดือนปี กรอกข้อมูลปริมาณน้ำฝนที่ได้จากสถานีวัดน้ำฝน ปริมาณน้ำฝน x พื้นที่รับน้ำฝน (ปริมาณน้ำท่าที่ได้เป็น ล้าน ลบ.ม.) รวมปริมาณน้ำท่า(ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน้ำท่า x Runoff Coefficient x %ฝนตกในพื้นที่

11 ขั้นตอนการดำเนินการ 1.จัดทำตารางการคาดการณ์น้ำ พร้อมทั้งใส่สูตรการคำนวณในตาราง รวมปริมาณน้ำท่าคาดการณ์สะสมรายวัน ปริมาณน้ำท่าที่คาดการณ์ว่ายังเหลืออยู่ตอนบน = ปริมาณน้ำท่าสะสมตอนบนที่คาดการณ์ - ปริมาณน้ำไหลลงอ่างแล้วจริงสะสมรายวัน(ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน้ำในอ่าง (ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณการระบายน้ำและปริมาณระบายสะสมรายวัน(ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน้ำไหลลงอ่างแล้วจริงและน้ำไหลลงอ่างแล้วจริงสะสมรายวัน (ล้าน ลบ.ม.)

12 ปริมาณฝนคาดการณ์ที่ได้จากการอ่านค่าสีแผนภาพการคาดการณ์ฝน
ขั้นตอนการดำเนินการ 2.การคำนวณคาดการณ์ปริมาณน้ำท่า และการวิเคราะห์ข้อมูล ปริมาณฝนที่ได้จากสถานีวัดน้ำฝนในพื้นที่ ปริมาณฝนคาดการณ์ที่ได้จากการอ่านค่าสีแผนภาพการคาดการณ์ฝน

13 ขั้นตอนการดำเนินการ http://www.hamweather.com/
ปริมาณฝนคาดการณ์ที่ได้จากการอ่านค่าสีแผนภาพการคาดการณ์ฝน จากเว็บไซต์ต่างประเทศ

14 ขั้นตอนการดำเนินการ การใช้ค่าร้อยละของปริมาณฝนที่พื้นที่ลุ่มน้ำ จากข้อมูลกรมอุตุนิยมวิทยา

15 การสรุปผลการคาดการณ์และการน้ำข้อมูลไปใช้ในการบริหารจัดการน้ำ
วันที่คำนวณ ว/ด/ป ปริมาณน้ำท่าตอนบน (ล้าน ลบ.ม.) สะสมปริมาณน้ำท่าตอนบน (ล้าน ลบ.ม.) Inflow ไหลเข้าอ่างแล้ว (ล้าน ลบ.ม.) สะสมInflow ไหลเข้าอ่างแล้ว (ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน้ำท่าคงเหลือ (ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน้ำในอ่าง(ล้าน ลบ.ม.) คาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่าง(ล้าน ลบ.ม.) 10 ก.ย. 56 46.46 6.55 39.91 218.47 258.38 11 ก.ย. 56 65.84 112.30 10.22 16.77 95.52 227.71 323.23 12 ก.ย. 56 32.56 144.85 13.97 30.74 114.12 240.80 354.92 13 ก.ย. 56 33.78 178.63 10.91 41.65 136.98 250.81 387.79 14 ก.ย. 56 39.18 217.81 10.16 51.81 166.00 260.05 426.05 15 ก.ย. 56 18.84 236.65 11.72 63.53 173.13 270.83 443.96 16 ก.ย. 56 45.45 282.10 13.27 76.80 205.30 283.15 488.45 17 ก.ย. 56 26.35 308.45 12.54 89.34 219.11 294.77 513.88 18 ก.ย. 56 5.41 313.87 15.37 104.71 209.15 309.20 518.35 19 ก.ย. 56 59.88 373.74 36.47 141.19 232.56 344.72 577.28 20 ก.ย. 56 135.65 509.40 55.38 196.57 312.83 399.11 711.94 21 ก.ย. 56 173.90 683.30 74.24 270.81 412.49 472.37 884.86 22 ก.ย. 56 7.90 691.20 61.06 331.87 359.33 532.46 891.79 23 ก.ย. 56 0.57 691.78 71.41 403.28 288.50 602.84 891.34 24 ก.ย. 56 0.00 55.61 458.89 232.89 656.66 889.55 25 ก.ย. 56 0.81 692.59 47.82 506.71 185.88 698.06 883.94 26 ก.ย. 56 46.39 738.98 42.23 548.94 190.04 731.18 921.22 27 ก.ย. 56 76.74 815.72 50.58 599.52 216.20 769.82 986.02 28 ก.ย. 56 24.57 840.29 48.28 647.80 192.49 800.75 993.24 29 ก.ย. 56 68.98 909.27 63.72 711.52 197.75 839.25 1,037.00 30 ก.ย. 56 64.64 776.16 133.11 870.75 1,003.86 01 ต.ค. 56 13.14 922.40 146.24 02 ต.ค. 56 52.85 975.25 199.09 03 ต.ค. 56 16.53 991.79 215.63 04 ต.ค. 56 15.14 230.77 การคาดการณ์

16 การนำไปประยุกต์ใช้ สามารถนำตารางการคาดการณ์ไปประยุกต์ใช้ได้กับทุกลุ่มน้ำ เพื่อให้การบริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำนั้นๆมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

17 จบการนำเสนอ ขอขอบพระคุณทุกท่าน...


ดาวน์โหลด ppt โครงการ “1 หน่วยงาน 1 ความรู้”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google