ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
MG414 Supply Chain and Logistics Management Chapter 1 * ** บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม - ปัญหาโลจิสติกส์ในชีวิตประจำวัน คนละ 1 คำถาม Ex.clip introduction
2
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับระบบการบริหารการผลิต
Logistic Mgt. Virtual Organization อัตรา การ เปลี่ยน แปลง Re-engineering Cont. Improvement เปลี่ยนแปลง อย่าง ต่อเนื่อง JIT / TQM Computer Integrated Mfg. Empowerment Economies of Scale เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว Vertical Integration อัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น การ เปลี่ยนแปลง แบบช้า 70’s Cost 80’s Quality 90’s Service 2000’s Speed
3
การขนส่ง ประเทศไทย โลจิสติกส์ ~ 85 % ส่วนมาก คิดว่าเป็น ??? ~10 %
~ 5 % ~ 2 %
4
การพยากรณ์ความต้องการ การสื่อสารในการกระจายสินค้า การหีบห่อ
กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ 14 ประการ การบริการลูกค้า การพยากรณ์ความต้องการ การสื่อสารในการกระจายสินค้า การหีบห่อ การควบคุมสินค้าคงคลัง การยกขนวัสดุ การสนับสนุนอะไหล่และบริการ การเลือกที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้า การจัดซื้อจัดหา การทำลายและกลับนำมาใช้ใหม่ กระบวนการสั่งซื้อ การจัดการสินค้าส่งคืน คลังสินค้าและการเก็บรักษาสินค้า การจราจรและการขนส่ง Ex.Nike logistics Center
5
การจัดการด้านโลจิสติกส์
เรียกได้หลายชื่อ Channel Management Business Logistics Distribution Industrial Logistics Logistics Management Material Management Quick-response Systems Physical Distribution Supply Chain Management Supply Management
6
(Distribution Management)
กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ ศูนย์กระจายสินค้า โรงงาน การวางแผน เครือข่าย การกำจัดของเสีย ควบคุมคุณภาพ การส่ง สินค้าคืน บรรจุภัณฑ์ ศูนย์ กระจาย สินค้า การให้ บริการ ลูกค้า พยากรณ์ ความ ต้องการ เคลื่อน ย้าย คลังสินค้า สำเร็จรูป คลังสินค้า วัตถุดิบ เคลื่อน ย้าย ผลิต การขนส่ง ขาออก จัดซื้อ การขนส่ง ขาเข้า ตารางกำหนด การผลิต สนับสนุน อะไหล่ การเลือกทำเล ที่ตั้ง วางแผน การผลิต ผู้ขายวัตถุดิบ ดำเนิน คำสั่งซื้อ จากลูกต้า ลูกค้า จัดส่ง (Deliver) จัดซื้อ จัดจ้าง (Source) การผลิต (Make) การกระจายสินค้า (Distribution Management) การจัดการวัสดุ(Material Management) การจัดการโลจิสติกส์ การไหลของวัสดุ(Physical Flow) การจัดการซัพพลายเชน การไหลของสารสนเทศ(Information Flow)
7
The Council of Logistics Management (CLM)
“การบริหารจัดการโลจิสติกส์เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการระบบโซ่อุปทาน ที่มีกระบวนการในการวางแผน ดำเนินการ และการควบคุมการไหลทั้งไปและกลับ อย่างประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงการจัดเก็บรักษาสินค้า บริการ และสารสนเทศ จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดที่มีการใช้งาน โดยมีเป้าหมายที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค” “Logistics Management is that part of Supply Chain Management that plans, implements, and controls the efficient, effective forward and reverse flow and storage of goods, service, and related information between the point of origin and the point of consumption in order to meet consumers requirements. ”
9
รูป 1-1 องค์ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์
การปฏิบัติการด้านการจัดการ ปัจจัยนำเข้า ของโลจิสติกส์ ผลได้ของ โลจิสติกส์ การวางแผน การทำให้เป็นผล การควบคุม ทรัพยากรธรรมชาติ นโยบายด้านการตลาด (ที่ดิน อุปกรณ์ เครื่องจักร) (การได้เปรียบ ทางการแข่งขัน) การจัดการโลจิสติกส์ อรรถประโยชน์ด้าน เวลาและสถานที่ ลูกค้า ทรัพยากรบุคคล ผู้จัดส่งวัตถุดิบ/ สินค้า สินค้า ระหว่างทำ สินค้า สำเร็จรูป วัตถุดิบ การส่งมอบสินค้า ทรัพยากรการเงิน ที่มีประสิทธิภาพ ให้กับลูกค้า กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ สินทรัพย์ที่ เป็นสมบัติของกิจการ ข้อมูล การบริการลูกค้า การเลือกที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้า การพยากรณ์ความต้องการ การจัดซื้อจัดหา การสื่อสารในการกระจายสินค้า การหีบห่อ การควบคุมสินค้าคงคลัง การจัดการสินค้าส่งคืน การยกขนวัสดุ การทำลายและกลับนำมาใช้ใหม่ กระบวนการสั่งซื้อ การจราจรและการขนส่ง การสนับสนุนอะไหล่และบริการ คลังสินค้าและการเก็บรักษาสินค้า
10
โลจิสติกส์ด้านการทหาร
พัฒนาการของโลจิสติกส์ โลจิสติกส์ด้านการทหาร การลดกฎระเบียบ การแข่งขันที่รุนแรง เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) อำนาจของช่องทางการจัดจำหน่าย การเฉลี่ยผลกำไร
11
ตาราง 1-1การเพิ่มขึ้นของกำไรจากการลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์
ถ้ากำไรสุทธิจากยอดขาย1$ เท่ากับร้อยละ 2 ดังนั้น การประหยัดที่ได้รับ เทียบเท่ากับยอดขายที่เพิ่มขึ้น $ $ $ $ $ $ ,000.00 $ ,000.00 $ ,000.00 $ ,000.00 $ ,000,000.00
12
รูป 1-2 ภาพรวมของแนวคิดเชิงระบบ : ทุเรียนทอดกรอบ
ลูกค้า ผู้ขนส่ง ผู้จัดส่งสินค้า / วัตถุดิบ ผู้ขนส่ง ศูนย์กระจาย สินค้า ลูกค้า ลูกค้า ผู้ขนส่ง ผู้จัดส่งสินค้า / วัตถุดิบ ผู้ผลิต ผู้ขนส่ง ลูกค้า ผู้ขนส่ง ผู้ขนส่ง ลูกค้า ศูนย์กระจาย สินค้า ผู้จัดส่งสินค้า / วัตถุดิบ ลูกค้า
13
1.โลจิสติกส์เป็นรายจ่ายที่สำคัญสำหรับธุรกิจ และจะส่งผลกระทบ
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อระบบเศรษฐกิจ 1.โลจิสติกส์เป็นรายจ่ายที่สำคัญสำหรับธุรกิจ และจะส่งผลกระทบ จากกิจกรรมอื่นในระบบเศรษฐกิจ 2.โลจิสติกส์ได้รองรับการเปลี่ยนแปลงและกระบวนการของธุรกรรม ทางเศรษฐกิจ และได้กลายเป็นกิจกรรมสำคัญในด้านการสนับสนุน การขายเสมือนหนึ่งเป็นสินค้าและบริการด้วย
14
กำไร ต้นทุนโลจิสติกส์ ต้นทุนการตลาด ต้นทุนการผลิต 4 % 21 % ขาย 27 %
= การใช้เวลา + พื้นที่ 21 % ขาย = การใช้กระบวนการ ทางการตลาด 27 % 48 % = การใช้รูปแบบ การผลิต องค์ประกอบต้นทุนหลักของการทำธุรกิจ
15
สัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์
ประเทศ สัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ ต่อ GDP(%) ไทย 21.8 (2543) 23.9 (2549) จีน 35 อินเดีย 20 เยอรมัน 13 ญี่ปุ่น 11 สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา 9 สิงคโปร์ 8 (เป้าหมายประเทศไทย ~16% : 2560) (~17% : 1980)
16
ต้นทุนโลจิสติกส์ ประเภทของต้นทุน (2543) ประเภทของต้นทุน (2549)
สัดส่วน GDP(%) การขนส่ง (Transportation) 9.5 การถือครองสินค้า (Inventory Holding) 10.3 การบริหารจัดการ (Administration) 2.0 รวม 21.8 ประเภทของต้นทุน (2549) สัดส่วน GDP(%) การขนส่ง (Transportation) 12.7 การถือครองสินค้า (Inventory Holding) 9.0 การบริหารจัดการ (Administration) 2.2 รวม 23.9
17
1.อรรถประโยชน์ด้านรูปลักษณ์ (Form Utility)
2.อรรถประโยชน์ด้านความเป็นเจ้าของ (Possession Utility) 1 + 2 = right goods + right place + right time right condition + right cost 3.อรรถประโยชน์ด้านเวลา (Time Utility) 4.อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ (Place Utility) Ex.logistic_humor
18
โลจิสติกส์สนับสนุนการตลาด
บทบาทของโลจิสติกส์ในองค์กรต่าง ๆ โลจิสติกส์สนับสนุนการตลาด “ ความสำเร็จในจุดมุ่งหมายขององค์การขึ้นอยู่กับการประเมินถึงความ จำเป็น (need) และความต้องการ (want) ของตลาดเป้าหมาย และส่งมอบความพึงพอใจเหล่านั้น ด้วยประสิทธิภาพและประสิทธิผล ที่มากกว่าของคู่แข่งขัน” ลูกค้าเป็นตัวขับเคลื่อน (Customer driven) “customer is the king”
19
ความพึงพอใจของลูกค้า
ผู้จัดส่งสินค้า / วัตถุดิบ ลูกค้าคนกลาง ลูกค้าคนสุดท้าย ความร่วมมือ กำไรที่เหมาะสม สินค้า ราคา กำไรระยะยาว การส่งเสริมการตลาด ต้นทุนรวมต่ำสุด สถานที่ รูป1-3 แนวคิดการจัดการด้านการตลาด / โลจิสติกส์
20
แนวคิดความร่วมมือ
21
ผลิตภัณฑ์ P1 ราคา P2 โลจิสติกส์??? การส่งเสริมการขาย P4 สถานที่ P3
22
รูป1-4 การเปรียบเทียบต้นทุนระหว่างการตลาดและโลจิสติกส์
สินค้า ราคา การส่งเสริมฯ สถานที่/ระดับ การให้บริการ ต้นทุนเก็บรักษา สินค้าคงคลัง ต้นทุน ค่าขนส่ง ค่าโกดัง ต้นทุนการสั่งซื้อและข้อมูล ต้นทุนปริมาณ การตลาด โลจิสติกส์
23
องค์การสามารถจะลดต้นทุนได้อย่างแท้จริง
แนวคิดต้นทุนรวม องค์การสามารถจะลดต้นทุนได้อย่างแท้จริง เมื่อปรับปรุงการดำเนินงานด้านโลจิสติกส์ โดยการรับเอาวิธี “ต้นทุนรวม” เข้ามาปรับใช้ ผู้บริหาร ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ - รูป 1-5 แสดงต้นทุนหลัก 6 ประการ กิจกรรมโลจิสติกส์ 14 ประการ
24
รูป1-5 แสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรมโลจิสติกส์ต่อต้นทุนรวมของโลจิสติกส์
สถานที่ / ระดับการให้บริการ การบริการลูกค้า อะไหล่และบริการ การรับคืนสินค้า ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ต้นทุนค่าขนส่ง การจัดการสินค้าคงคลัง การจราจรและการขนส่ง การหีบห่อ โลจิสติกส์ย้อนกลับ ต้นทุนปริมาณสินค้า ต้นทุนค่าโกดัง การยกขนวัสดุ คลังสินค้า การจัดหา การเลือกสถานที่ตั้งและโกดัง ต้นทุนการสั่งซื้อและข้อมูล การบริการลูกค้า อะไหล่และบริการ การรับคืนสินค้า
25
กิจกรรมหลักโลจิสติกส์ 14 ประการ การบริการลูกค้า
การพยากรณ์และวางแผนอุปสงค์ การบริหารสินค้าคงคลัง การติดต่อสื่อสารด้านโลจิสติกส์ การจัดการวัตถุดิบ กระบวนการสั่งซื้อ การหีบห่อและบรรจุภัณฑ์ อะไหล่และการให้บริการ การเลือกสถานที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้า การจัดหาสินค้า/วัตถุดิบ การจัดการสินค้ารับคืน โลจิสติกส์ย้อนกลับ คลังสินค้าและการจัดเก็บสินค้า การจราจรและการขนส่ง
26
กิจกรรมหลักโลจิสติกส์ 14 ประการ
การบริการลูกค้า การบริการลูกค้า = ผลลัพธ์ของระบบโลจิสติกส์ การบริการลูกค้า = การสร้างความพึงพอใจลูกค้า = ผลลัพธ์กระบวนการด้านการตลาด การพยากรณ์และวางแผนอุปสงค์ โลจิสติกส์ เชื่อมการพยากรณ์และการวางแผนการผลิต + การตลาด การบริหารสินค้าคงคลัง ต้นทุนสินค้าคงคลัง = ต้นทุนซึ่งสัมพันธ์กับสินค้าคงคลัง + ต้นทุนในการจัดเก็บสินค้าผันแปร + ความล้าสมัยของสินค้า
27
การติดต่อสื่อสารด้านโลจิสติกส์
มีเทคโนโลยีเข้ามาช่วย การจัดการวัตถุดิบ = การจัดหาวัตถุดิบ + การปฏิบัติงานระหว่างดำเนินการ + การจัดการสินค้าสำเร็จรูปในโรงงาน กระบวนการสั่งซื้อ = การรับคำสั่งซื้อจากลูกค้า + การตรวจสอบสถานะของคำสั่งซื้อ + การติดต่อสื่อสารไปยังลูกค้า + การเปิดคำสั่งซื้อจริง + การส่งมอบตามคำสั่งซื้อ การหีบห่อและบรรจุภัณฑ์ ช่วยป้องกันสินค้า ให้ข้อมูลลูกค้า อะไหล่และการให้บริการ การบริการหลังการขาย
28
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้า
ต้นทุนค่าขนส่งวัตถุดิบ สินค้าสำเร็จรูป + ระดับการบริการ ความรวดเร็วตอบสนองต่อลูกค้า การจัดหาสินค้า/วัตถุดิบ การซื้อวัตถุดิบและบริการจากองค์กรภายนอก การผลิต การตลาด การขาย และโลจิสติกส์ การจัดการสินค้ารับคืน
29
คลังสินค้าและการจัดเก็บสินค้า
โลจิสติกส์ย้อนกลับ การขนย้าย หรือทำลายขยะที่เกิดจากการผลิต การจัดส่ง การบรรจุ + Recycle ex. battery - Carbon Credit การจราจรและการขนส่ง เป็นต้นทุนกิจกรรมต้นทุนสูงที่สุด ในกิจกรรมโลจิสติกส์ การเลือกวิธีขนส่ง การเลือกเส้นทางขนส่ง การปฏิบัติตามกฎระเบียบ การเลือกผู้ขนส่ง คลังสินค้าและการจัดเก็บสินค้า การวางโครงสร้าง การออกแบบ ความเป็นเจ้าของ ระบบอัตโนมัติ การฝึกอบรมพนักงาน
30
ความสัมพันธ์ของกิจกรรมโลจิสติกส์ต่อต้นทุนรวมด้านโลจิสติกส์
1. ระดับการให้บริการ ปัจจุบัน ปัจจัยสำคัญในการพิจารณา ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการขาย อนาคต การประเมินระดับการให้บริการตามความต้องการของลูกค้า 2. ต้นทุนค่าขนส่ง การจราจรและการขนส่ง 3. ต้นทุนค่าโกดัง คลังสินค้า การเลือกสถานที่ตั้งและโกดัง
31
4. ต้นทุนกระบวนการสั่งซื้อและระบบสารสนเทศ
ต้นทุนการสั่งซื้อ การส่งคำสั่งซื้อ การบันทึกคำสั่งซื้อ การประมวลคำสั่งซื้อ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับทั้งภายในและภายนอก ex.การแจ้งข้อมูล เรื่องการขนส่งแก่ผู้ขนส่งและลูกค้า+ปริมาณสินค้าที่มีอยู่. เทคโนโลยีสารสนเทศ ex. EDI RFID 5. ต้นทุนปริมาณสินค้า การกำหนดต้นทุน - ระยะเวลาที่ใช้เพื่อเตรียมการ กำหนดผู้จัดส่งวัตถุดิบและสถานที่ในสายการผลิต - ชิ้นส่วนที่เกิดขึ้นจากการปรับแต่งสายการผลิต - สายการผลิตที่ยังไม่มีประสิทธิภาพสายการผลิตใหม่ การสั่งซื้อจากsupplierหลายราย การสูญเสียประสิทธิภาพเนื่องจากการหยุดงานเพื่อเปลี่ยนสายการผลิต หรือต้องเปลี่ยนผู้จัดส่งสินค้า / วัตถุดิบ การจัดการวัตถุดิบ กาวางแผน และการสำรวจ ส่วนต่างราคาจากการสั่งซื้อในปริมาณที่ต่างกัน ต้นทุนการสั่งซื้อที่เกี่ยวข้องกับการจัดการคำสั่งซื้อ
32
6. ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังมาก ต้นทุนสูง ต้นทุนเงินทุน (capital cost)และต้นทุนค่าเสียโอกาส (opportunity cost) ต้นทุนในการดูแลสินค้า ex. ค่าประกัน ค่าภาษี ต้นทุนพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้า ต้นทุนความเสี่ยงจากการจัดเก็บสินค้า
33
การพัฒนากลยุทธ์โลจิสติกส์
ผู้บริหารต้องทราบถึง 1. ความต้องการของลูกค้าที่คาดหวังจะได้รับในด้านของระดับและปริมาณการให้บริการ 2. การบริการของคู่แข่งขัน 3. การให้บริการลูกค้าขององค์กรในปัจจุบันเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง โดยเฉพาะประเด็นที่ลูกค้าให้ความสำคัญ SWOT Strategic Management ลูกค้า = < ระดับการบริการ
34
ความท้าทายในอนาคตและขอบเขตการพัฒนาการดำเนินงานด้านโลจิสติกส์
การมีส่วนร่วมในการกำหนดกลยุทธ์และกระบวนการวางแผนด้านกลยุทธ์ขององค์การ การจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) - ปรัชญา ของการประสานการออกแบบระบบโลจิสติกส์ ให้ประสบความสำเร็จ - Malcolm Baldrige National Quality Award * ISO 9000 Just-in-Time (JIT) การตอบสนองอย่างรวดเร็ว EX. EDI การตอบสนองผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ EX. ECR การใช้โลจิสติกส์เป็นอาวุธในการแข่งขัน EX.Wall Mart
35
Ex. HK Logistics การบัญชีต้นทุนโลจิสติกส์ ex. ABC
โลจิสติกส์ในฐานะกิจกรรมที่ขยายขอบข่ายงานออกไป โลจิสติกส์โลก ความต้องการทักษะที่เพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศโลจิสติกส์ แหล่งภายนอก หุ้นส่วน พันธมิตรด้านกลยุทธ์ เทคโนโลยี ex RFID การตลาดสีเขียว ex. Credit carbon Ex. HK Logistics Ex.SCM in 2016
36
Any Problem ???
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.