งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เท้าปุก (Club foot) อ.นภิสสรา ธีระเนตร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เท้าปุก (Club foot) อ.นภิสสรา ธีระเนตร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เท้าปุก (Club foot) อ.นภิสสรา ธีระเนตร

2 เท้าปุก (Club foot) เป็นความผิดปกติของเท้า โดยมีลักษณะความผิดรูปแบบข้อเท้าจิกลงล่าง บิดเข้าใน และฝ่าเท้าหงายขึ้น โดยไม่มีอาการเจ็บปวด ทำให้มีรูปร่างเหมือนไม้กอล์ฟ อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้

3 สาเหตุ ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด สิ่งแวดล้อมในครรภ์มารดา กรรมพันธุ์
กระดูกเท้าถูกสร้างมาผิดรูป, กล้ามเนื้อ ควบคุมการเคลื่อนไหวของข้อเท้าและเท้าไม่ สมดุลกัน ยาและสารเคมีบางชนิดเช่นยา Thaliamide ทำให้การเจริญผิดปกติ

4 อุบัติการณ์ เกิดขึ้น 1 : 1,000 ของเด็กทารกที่คลอดใหม่ (in USA)
มักพบในบุตรคนแรก เด็กผู้ชาย : เด็กผู้หญิง = 2 : 1 เท้าขวาพบบ่อยกว่า เป็นสองข้าง = เป็นข้างเดียว

5 เท้าปุกเทียม/ เท้านิ่ม
ประเภทของเท้าปุก เท้าปุกเทียม/ เท้านิ่ม เท้าปุกแท้/ เท้าแข็ง เท้าบิดเข้าด้านในและจิกเท้าลง โดยรูปร่างเท้าไม่ได้บิดมาก ใช้มือจับดัดเบาๆ สามารถดัดเท้าให้เคลื่อนไหวได้ทุกทิศทาง เท้าบิดเข้าด้านในโค้งงอชัดเจน ด้านข้างเท้าเป็นเส้นโค้ง ด้านในจะเห็นร่องเนื้อเป็นเส้นบุ๋มลงไป ตรงกลางและด้านหลังเท้า เป็นเส้นซอกลึกเข้าไป

6 เท้าปุกเทียม เท้าปุกแท้ (ต่อ)
เท้าปุกเทียม เท้าปุกแท้ (ต่อ) ถ้าไม่ได้รักษา เท้าจะบิดแข็ง มากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเด็กโตขึ้นจะใช้หลังเท้าเป็นจุดรับน้ำหนักเวลาเดิน ซึ่งทำให้เดินลำบาก ทรงตัวยาก เจ็บปวดได้บ่อย ใส่รองเท้าทั่วไปไม่ได้ ไม่มีความผิดปกติที่โครงสร้างเท้า เกิดจากเด็กขดตัวแน่นอยู่ในครรภ์ เท้าถูกกดอยู่ในท่าบิดเข้าด้านในเป็นเวลานาน อาจทำให้เอ็นเท้าด้านในตึง ในขณะที่เอ็นเท้าด้านนอกหย่อน พบได้บ่อย

7 การแบ่งชนิดของเท้าปุก
ตามลักษณะของความผิดปกติ Talipes varus: Turn inward รูปตัว J Talipes valgus: Rotate outward รูปตัว L Talipes equino ปลายเท้าปักพื้นยกส้นเท้า Talipes calcaneus ปลายเท้าพ้นพื้นดิน เดินด้วยส้นเท้า

8 ตามระยะการเกิด Congenital club foot
Acquired club foot may be poliomyelitis or inflammatory processes and traumas of the foot and leg.

9 ตามสาเหตุ Positional club foot เกิดจากการขดตัวของทารกในครรภ์
ทำให้เท้าบิดเข้าด้านใน Teratologic club foot เกิดจากกระดูกเท้าเรียงตัวผิดปกติ มีการผิดรูปของกระดูกเท้าบางชิ้น

10 การรักษา อธิบายให้บิดา-มารดาเด็กเข้าใจในแผนการรักษา ตลอดจนผลดีในการรักษาตั้งแต่แรกเกิด*** เพราะเนื้อเยื่อของเท้าเด็กแรกเกิดอ่อนยืดหดได้ง่าย

11 การรักษา (ต่อ) การรักษาตั้งแต่แรกเกิด
การรักษา (ต่อ)  การรักษาตั้งแต่แรกเกิด เท้าปุกเทียม นวดด้วยน้ำอุ่นๆ ค่อยๆดัดและเขี่ยข้างเท้า*** ทำทุก 4 ชม. ก่อนให้นมจนเด็กอายุ 2 ขวบหรือจนกว่าผลเป็นที่น่าพอใจ

12 การรักษา (ต่อ) เท้าปุกแท้ แพทย์มักจะเข้าเฝือกโดยเพื่อแก้ไขความผิดปกติ
ใส่เฝือกอย่างน้อย 6 wks

13 การรักษา (ต่อ) Denis Brown Splint (Brace and shoes correction) เป็นรองเท้าสำหรับจัดเท้าและขณะใส่เด็กสามารถเคลื่อนไหวได้ด้วย (มักใช้ต่อจากการเข้าเฝือก เมื่อจัดรูปร่างเท้าได้พอสมควรแล้ว) การสวมใส่ มักต้องใส่ตลอดเวลา ถอดเฉพาะเวลาอาบน้ำ เมื่อเด็กเริ่มหัดเดิน รองเท้านี้จะใส่เฉพาะเวลากลางคืน ใส่นาน 1 ปี หรือมากกว่านั้นเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำอีก***

14 การรักษา (ต่อ) Orthopedic shoes เป็นรองเท้าพิเศษที่เสริมพื้นรองเท้าให้สูง ช่วยในการดัดเท้าเด็กใช้จนอายุ 3 ปี ร้อยละ 60 ได้ผลดีภายใน 3 เดือนแรก ร้อยละ 40 ไม่ค่อยได้ผลจาก ญาติไม่ให้ความร่วมมือหรือเห็นความสำคัญ

15 การรักษา (ต่อ) Soft tissue operation เมื่อการดัดและจัดไม่ได้ผลมักทำผ่าตัดโดย Tendo-Achilles Lenghtening โดยทำเอ็นร้อยหวายให้ยาวขึ้น แล้วเข้าเฝือกแก้การผิดรูป Capsulotomy ของเท้าแล้วเข้าเฝือกแก้การผิดรูป

16 การพยาบาล ให้การดูแลเหมือนเด็กเข้าเฝือกทั่วๆไป
ในรายที่ทำผ่าตัดจะต้องให้การดูแลเหมือนเด็กหลังผ่าตัดและเข้าเฝือก เน้นการรักษาความสะอาดของร่างกายเด็กเป็นสิ่งสำคัญ อาหารและการขับถ่าย การออกกำลังกายของข้อต่างๆ Observe อาการผิดปกติต่างๆนั้นต้องดูอย่างใกล้ชิดเพราะเด็กไม่สามารถบอกได้

17 การดูแลเฝือก เปลี่ยนเฝือกทุก 1-2 สัปดาห์
สังเกตปลายนิ้วบ่อยๆ ปกติควรเป็นสีชมพูและคลำได้อุ่นๆ ถ้าพบอาการเหล่านี้ควรมาพบแพทย์ : ปลายนิ้วบวม ผิวหนังที่บริเวณปลายเฝือกแดง ถลอก เฝือกแน่นมาก เปียกชื้น แตก หรือมีกลิ่นเหม็นออกมาจากภายในเฝือก

18


ดาวน์โหลด ppt เท้าปุก (Club foot) อ.นภิสสรา ธีระเนตร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google