งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สัปดาห์ที่ 1 Soc106 สังคมวิทยา โลกาภิวัตน์Sociology of Globalization

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สัปดาห์ที่ 1 Soc106 สังคมวิทยา โลกาภิวัตน์Sociology of Globalization"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สัปดาห์ที่ 1 Soc106 สังคมวิทยา โลกาภิวัตน์Sociology of Globalization
เข้าสู่บทเรียน

2 สังคม Society วิทยา Technology โลกาภิวัตน์ Globalization
หน้าต่อไป

3 สังคม (Society) สังคม เป็นความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของมนุษย์กับมนุษย์ หลายคน สังคม การอยู่ร่วมกัน มีวิถีชีวิตดำเนินชีวิตทิศทางเดียวกัน สังคม ทัศนคติ การยอมรับความคิดเห็นร่วมกัน สังคม ความสนใจพฤติกรรมทางสังคมทุกด้าน หน้าต่อไป

4 วิทยา (Technology) วิทยา ความรู้ที่หลากหลาย
วิทยา ความรู้ที่หลากหลาย วิทยา วิทยาการที่พัฒนาต่อไปไม่สิ้นสุด วิทยา ความรู้ แนวคิดตั้งแต่อดีต ปัจจุบันถึง อนาคต หน้าต่อไป

5 โลกาภิวัตน์ โลกที่มนุษย์ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
โลกที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว กว้างขวาง โลกที่มากด้วยข่าวสารข้อมูล สามารถรับรู้รับทราบได้รวดเร็วแม้นอยู่มุมใดของโลกก็ตาม

6 สังคมของ... สัตว์ คน มนุษย์ พืช สิ่งมีชีวิตเคลื่อนไหวได้
มีความรู้สึกนึกคิด มีการตัดสินใจ มีสัญชาติญาณรับรู้ มีรูปร่าง กรรมพันธุ์ -มีจิตวิญญาณ -มีสมองมากกว่าสัตว์ -มีความรู้สึกรับผิดชอบชั่วดี แยกแยะได้  สูงกว่าจิตที่พัฒนาแล้ว -เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในสังคม หน้าต่อไป

7 สังคมระหว่างประเทศและประเทศในกลุ่มต่างๆ ในภูมิภาค ทวีป
หน่วยงานที่เล็กที่สุด คือ ตัวเรา กับบุคคลอื่น มี 2 คน 3 คน เป็นต้น สังคมครอบครัว สังคมชุมชน สังคมระหว่างประเทศและประเทศในกลุ่มต่างๆ ในภูมิภาค ทวีป หน้าต่อไป

8 วิวัฒนาการ (Evolution) การพัฒนา (Development)
การเปลี่ยนแปลงค่อยเป็นค่อยไปอาจดีขึ้น หรือ อาจเลวลงก็ได้ วิวัฒนาการ (Evolution) การพัฒนา (Development) การทำให้เจริญขึ้น เติบโตขึ้นมีความก้าว หน้า สร้างสรรค์ หน้าต่อไป

9 คำถาม (Question) ตอนที่ 1
1. สังคมคืออะไร? 2. สังคมหมายถึงอะไร? 3. ลักษณะอย่างไร? เรียกว่าสังคม 4. ประเภททางสังคมมีอะไรบ้าง? 5. อธิบายพอเข้าใจ -สังคมครอบครัว -สังคมชุมชน -สังคมระหว่างประเทศ,ในภูมิภาค,ในโลก ท่านคิดว่าต้องการอะไร? จากสังคม ท่านคิดว่าต้องการอะไร? จากสังคม สังคมที่ไม่น่าอยู่ ไม่ต้องการร่วมกิจกรรมด้วยมีลักษณะอย่างไร สังคมที่น่าอยู่ ต้องการร่วมกิจกรรมด้วยมีลักษณะอย่างไร ปัจจุบันสังคมของท่านชอบหรือไม่ชอบ เพราะอะไร? หน้าต่อไป

10 คำถาม (Question) ตอนที่ 2
1. มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์ อย่างไร? 2. มนุษย์มีความแตกต่างจากคน อย่างไร? 3. ตามความหมายทางวิชาการที่ว่า “มนุษย์ เป็นสัตว์ประเสริฐ” “ทรัพยากรมนุษย์” ท่านเข้าใจว่าอย่างไร? (อธิบายสั้นๆ แต่เข้าใจได้โดยสมบูรณ์) หน้าต่อไป

11 สัปดาห์ที่ 2 Soc106 สังคมวิทยา โลกาภิวัตน์Sociology of Globalization
เข้าสู่บทเรียน

12 ธรรมชาติ ธรรมชาติ คือสิ่งที่อุบัติ(เกิดขึ้น) เองโดยไม่มีคนหรือ
มนุษย์ไปปรุงแต่ง ธรรมชาติ ธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มนุษย์ คน และสัตว์ปรารถนาที่ จะอยู่ด้วยกัน ครอบครอง แบ่งเป็นจัดสรร ปรุงแต่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตาม ต้องการ หน้าต่อไป

13 เผ่าพันธุ์ ชาติพันธุ์
กลุ่มคนที่มีมาจากดั่งเดิม ลักษณ์ทาง วิทยาศาสตร์ กายภาพ คล้ายกัน อาจแตก ต่างกันบ้าง แต่ก็จัดว่าเป็นหมวดหมู่เดียว กัน เผ่าพันธุ์ มีความสอดคล้องกับเผ่าพันธุ์ แต่มี วิวัฒนาการสืบต่อมา รวมกลุ่มชน ความ เชื่อความศรัทธา วิถีชีวิตคล้ายกัน รวมกัน อาณาเขต ดินแดนด้วย ชาติพันธุ์ หน้าต่อไป

14 เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สัญชาติ (Nationality) ชาติพันธุ์ (Rece,Ethnicity)
หน้าต่อไป

15 ชาติพันธุ์ แนวคิดเรื่องลัทธิเหยียดเชื้อชาติทางวัฒนธรรมและระบบอุปถัมภ์
ชาติพันธุ์ แนวคิดเรื่องลัทธิเหยียดเชื้อชาติทางวัฒนธรรมและระบบอุปถัมภ์ เป็นเรื่องละเอียดก่อน มีความสำคัญต่อการหล่อหลอม สีผิว, สีของตา,เส้นผม โครงสร้างของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในโลก (ปรากฏตามกายภาพ) หน้าต่อไป

16 คศ.ที่ 19 มีการแบ่งมนุษย์อออกเป็น 3 เชื้อชาติหลักในโลก
คศ.ที่ 19 มีการแบ่งมนุษย์อออกเป็น 3 เชื้อชาติหลักในโลก คอเคซอยค์ (Caueasoid) มองโกลอยด์ (Mongoloid) นิกรอยด์ (Nigroid) ผิวขาว + จมูกโด่ง ชาติตะวันตก ผิวเหลือง ชาติตะวันออก ผิวดำ+ ผมหยิก ชาติอัฟกัน คศ.19 ต่อ

17 คศ.ที่ 19 มีแนวคิดที่ว่า เชื้อชาติ บางเชื้อชาติดีกว่า เหนือกว่าเชื้อชาติอื่นๆบนพื้นฐานของสีผิว,เส้นผม,โครงสร้างใบหน้า เป็นฐานให้รากเหง้าของลัทธิเหยียดผิวได้ก่อกำเหนิดขึ้น เกิดการพัฒนาแนวคิดของ Representations of the other (1) การแบ่งกลุ่มระหว่าง เรื่องของตัวตน กับสิ่งอื่น (Self and others) เช่น ชาวโรมัน เรียกคน ที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในอาณาจักรโรมันว่าเป็นพวก ป่าเถื่อน (Barbarians) ชาวมุสลิมเรียกคนไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามว่าเป็นพวกอินฟิเดล (Infidela) คือพวกไม่จงรักภักดี คศ.19 ต่อ

18 คศ.ที่ 19 (2) ชาวตะวันตก มองด้วยความรู้สึกว่า ชาวตะวันออก เป็นกลุ่มคนแปลกไร้รูปแบบตายตัว โหดร้าย ทารุณ ขาดการเหนียวรั้งทางเพศ คศ.ที่ ก่อตั้งจักรวรรดิ หรืออาณานิคม เริ่มมีการค้าทาส (Slave trade) เพื่อแลกเปลี่ยนสิ้นค้าประเภท น้ำตาล ยาสูบ กลับสู่ยุโรป คศ.19 ต่อ

19 คนไทยในปัจจุบันเรียก
พวกอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) บ้านนอก (ชนบท) ไกลปืนเที่ยง (ชายแดน) ห่างความเจริญ คศ.1865

20 คศ.1865 (พ.ศ. 2408) มหาอำนาจมุ่งความสนใจ กับการจัดตั้งอาณานิคม
คศ (พ.ศ. 2408) มหาอำนาจมุ่งความสนใจ กับการจัดตั้งอาณานิคม ทฤษฎีว่าด้วยเชื้อชาติต่างๆ เป็นศูนย์กลางทางอุดมการณ์ เท่านั้นว่าเชื้อชาติ ผิวขาว มีภารกิจในการสร้างและเผยแผ่อารยธรรมของมนุษย์ (1) ในทวีปอเมริกา สีผิวมองว่าเชื้อชาติต่ำต้อยกว่า(degraded race) (2) การล่าอาณานิคม และ การค้าทาส เท่ากับการตอกย้ำการเหยียดหยามเชื้อชาติ (3) สถานภาพทางสังคมจัดให้ชาวญี่ปุ่นเป็นกลุ่มผิวขาวกิตติมศักด์ (honorary white) หน้าต่อไป

21 ในแอฟริกา (นายเนลสัน แมนเดลา : Nelson Mandela)
ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี ผิวดำ คนแรกของประเทศ เป็นการปิดฉาก การเหยียดผิว ระหว่างมนุษย์อย่างเป็นทางการ ใน USA ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน________________________ เป็นคนผิวสีคนแรก ทำให้ลดช่องว่างระหว่างชาติพันธ์มนุษย์ ในไทย ทาสและการเลิกทาสในรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2441) หน้าต่อไป

22 ชนชั้น : ในทางสังคมเดียวกัน หรือ สังคมอื่นภายในสังคมจะมีการ
ชนชั้น : ในทางสังคมเดียวกัน หรือ สังคมอื่นภายในสังคมจะมีการ จัดระบบกันเองโดยอัตโนมัติ 1. ทางกายภาพ. (พฤติกรรม การแสดงออก) 2. ทางความรู้สึกการยอมรับ 3. ทางกระบวนการที่สร้างขึ้น 4. ทางเศรษฐกิจ (ฐานะการเงิน) 5. ทางการศึกษา (ความรู้ ความสามารถ หน้าต่อไป

23 อำนาจ - บารมี อำนาจ คือ พลัง = การยอม = การกำหนด,การบังคับ,สั่งการ,เกรงกลัว = สิทธิเหนือผู้อื่น (คน สัตว์) ความได้เปรียบ = มีโอกาส มากกว่า บารมี คือ พลัง (นามธรรม) ยอมรับ,ความศรัทธา,การยกย่อง,สรรเสริญ การให้ เกรียติ,ความได้เปรียบทางปฏิบัติ หน้าต่อไป

24 กรอบของอำนาจและความรู้ = กลายเป็นสิ่งที่ได้รับการยอมรับอำนาจ
ในสังคม (power relations) = มีอยู่ในทุกความสัมพันธ์ในสังคม หน้าต่อไป

25 ความหมาย ความสำคัญ และโครงสร้างสังคม กับจรรยาบรรณของความเป็นมนุษย์
เข้าสู่บทเรียน

26 ความหมาย = ได้กล่าวไว้ในเบื้องต้นพอเข้าใจพร้อมอธิบายประกอบ
ความสำคัญหรือประโยชน์ - เข้าใจมนุษย์ในฐานะเป็นสมาชิกของสังคม - เข้าใจสังคม ทุกชนชั้น การอยู่ร่วมกันโดยไม่มีความขัดแย้ง เช่น วรรณะในประเทศอินเดีย(ศาสนาฮินดู)มีกี่วรรณะ อะไรบ้างล่ะค๊ะ - เข้าใจตนเอง ปกครองตนเอง โน้มเอียงเข้ากับผู้อื่นได้ หน้าต่อไป

27 เปรียบเสมือนตัวเราเป็นฟันเงือกตัวเล็กตัวหนึ่งของเครื่องจักร
- เราเป็นองค์ประกอบของสังคม - ถ้าขาดเรา หรือเราสร้างปัญหาให้สังคม เสมือนเครื่องจักรไม่สมบูรณ์ อาจเกิดปัญหาได้ เกิอะไรบ้าง หน้าต่อไป

28 พฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมซึ่งมีความสัมพันธ์กัน
สถานภาพ บทบาท ลัทธิ หน้าที่ สั่งเฉพาะบุคคล กำหนดความแตกต่างของสมาชิก ในสังคม ติดตัวมาแต่กำเนิด หรือได้มาโดย ความสามารถ ตามสถานภาพความ เหมาะสม(มารยาท) หน้าต่อไป

29 โครงสร้างของสังคม สถาบัน สถานที่ / องค์กร สถานภาพและบทบาท บุคคล
ระเบียบข้อบังคับ หน้าต่อไป

30 สถาบันทางสังคมหลัก 7 สถาบัน
กศ. ครอบครัว ศาสนา สถาบันทางสังคมหลัก 7 สถาบัน สื่อสารมวลชน เศรษฐกิจ นันทนาการ การเมืองการปกครอง ( นิติ,บริหาร,ตุลาการ) หน้าต่อไป

31 จรรยาบรรณ คือ มารยาท แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม มีกรอบกติกา กฎเกณฑ์ ตามหลักของสังคม ที่กำหนดขึ้น จรรยา (กิริยา + มารยาท) ที่ดีงาม บรรณ (หลักการที่กำหนดไว้ เพื่อให้ปฏิบัติร่วมกัน) หน้าต่อไป

32 ยึดถือปฏิบัติตามแนวทางศาสนา (ศีล-ธรรม) ศีล - ข้อห้าม (คำสั่ง)
จรรยาบรรณของไทย เริ่มพัฒนามีใช้อย่างเป็นทางการในสมัยรัชการที่ 5 เริ่มใช้กับข้าราชบริพารเป็นอันดับแรก ยึดถือปฏิบัติตามแนวทางศาสนา (ศีล-ธรรม) ศีล - ข้อห้าม (คำสั่ง) ธรรม - ข้อควรปฏิบัติ (คำสอน) เช่น สัปปุริสธรรม 7 ประการ ฯลฯ คำถาม

33 คำถาม (Question) 1. อธิบายลักษณะวิถีชีวิตธรรมชาติ พอเข้าใจ
1. อธิบายลักษณะวิถีชีวิตธรรมชาติ พอเข้าใจ 2. สังคมแบบธรรมชาต กับสังคมโลกาภิวัตน์สามารถอยู่ร่วมกันได้หรือไม่ ? เพราะเหตุใด 3. เผ่าพันธุ์ของท่าน จัดอยู่ในกลุ่มใดของการแบ่งประเภทมนุษย์ในโลก 4. ทัศนะของลัทธิเหยียดผิวสี หรือแบ่งชนชั้น เกิดจากสาเหตุใด? 5. นักศึกษายกตัวอย่างลักษณะของผู้มีอำนาจและบารมีให้เห็นภาพลักษณ์อย่างเข้าใจได้พอสังเขป 6. จงบอกลัทธิและหน้าที่ของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอน 7. มารยาทที่ดีต่อการเรียนควรปฏิบัติอย่างไร? 8. สถาบันสื่อสารมวลชนมีอิทธิพลต่อสังคมมากน้อยเพียงใด 9. ยกตัวอย่างหลักธรรมคำสอนพร้อมอธิบายมา 1 หลักธรรมเพื่อใช้ปฏิบัติในการดำรงชีวิตในสังคมไทย? 10. “เราเป็นส่วนหนึ่งของสังคม มิใช่สังคมเป็นส่วนหนึ่งของเรา” หมายความว่าอย่างไร? ต้องปฏิบัติต่อสังคมอย่างไร หน้าต่อไป

34 จบการบรรยาย


ดาวน์โหลด ppt สัปดาห์ที่ 1 Soc106 สังคมวิทยา โลกาภิวัตน์Sociology of Globalization

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google