งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning

2 การวางแผนการพัฒนา Development Planning

3 Development Planning :
การวางแผนการพัฒนา ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ กำหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้

4 Cause of Development Issue :
แรงผลักดันที่ก่อให้เกิดประเด็นการพัฒนา ความต้องการของภาคประชาชน / ท้องถิ่น ความต้องการของภาครัฐ ปัญหาจากระบบการพัฒนาแบบเดิม แรงผลักดันจากภายนอก ส่วนภูมิภาคเสนอให้มีการปรับปรุงระบบ ฯลฯ

5 Development Issue Setting :
การกำหนดประเด็นการพัฒนามี วิธีการพื้นฐาน ๒ ประการ ศึกษาจากปัญหาที่ดำรงอยู่ก่อนการพัฒนา ศึกษาจากปัญหาที่เป็นผลจากการพัฒนา “ที่ใดไม่มีปัญหา ที่นั่นย่อมไม่มีการพัฒนา”

6 การศึกษาความเป็นไปได้ Feasibility Study

7 Initial-target of Development :
ความเป็นไปได้ในการพัฒนา เพิ่มคุณประโยชน์ Ex: การจัดรูปที่ดิน ปรับปรุงระบบให้ดีขึ้น Ex: เพิ่มความเร็ว – ลดขั้นตอน – ลดข้อผิดพลาด ปรับปรุงสภาพแวดล้อม Ex: การสร้างอ่างเก็บน้ำ

8 การค้นหาข้อสรุป – ขอบเขตของปัญหา ผ่านความเป็นไปได้ในประเด็นหลักดังนี้
Feasibility Study : การค้นหาข้อสรุป – ขอบเขตของปัญหา ผ่านความเป็นไปได้ในประเด็นหลักดังนี้ ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) ความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) ความเป็นไปได้ทางการเมือง (Political Feasibility) ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) ความเป็นไปได้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Feasibility) ความเป็นไปได้ทางสังคม (Social Feasibility) ความเป็นไปได้ทางวัฒนธรรม (Cultural Feasibility)

9 การวางแผน – การควบคุมการดำเนินการ Implementation Planning – Monitoring

10 Implementation Planning – Monitoring :
การกำหนดขั้นตอน Ex: วิธีการ / การประสานงาน / การสร้างความเข้าใจ การควบคุม (Control) : การกำหนดแนววิธีการตรวจสอบการดำเนินการ Ex: รายงานรายไตรมาส / การลงพื้นที่ / ระบบ IT การกำหนดเวลา (Project Scheduling) : การกำหนดช่วงเวลาการดำเนินการทั้งหมด Ex: Gantt Charts / Pert – CPM

11 เทคนิคการเขียนโครงการพัฒนา แบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ Logical – Framework

12 Logical – Framework : เป็นเทคนิคการเขียนแผนโครงการที่
สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของทุกขั้นตอน อย่างเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน มีรายละเอียดวิธีการปฏิบัติ ในแต่ละรายกายให้เห็นชัดเจน ง่ายต่อการวิเคราะห์ – ประเมินผล

13 Logical – Framework : หลักในการทำ Log – Frame
พิจารณาโครงการอย่างเป็นระบบ เปรียบเทียบค่าใช้จ่าย – สัมฤทธิผล อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ บนฐาน คิดที่เป็นเหตุ – ผล สร้างตารางสรุปเนื้อหา

14 Logical – Framework : องค์ประกอบของ Log – Frame
องค์ประกอบแนวตั้ง : แสดงการดำเนินงาน ๔ ระดับ ระดับนโยบาย (Goal – G) : แสดงจุดมุ่งหมายของนโยบาย ระดับวัตถุประสงค์ (Purpose – P) : แสดงวัตถุประสงค์ ระดับผลงาน (Output – O) : แสดงผลผลิตของโครงการ ระดับปัจจัย (Input – I) : แสดงกิจกรรม – ทรัพยากร

15 WHY Goals – G Purpose – P Output – O Input – I HOW

16 Logical – Framework : องค์ประกอบแนวนอน : แสดงรายละเอียดในแต่ละระดับ
คำสรุป (Narrative Summary – NS) : สรุปย่อขององค์ประกอบแนวตั้งทั้ง ๔ ระดับ ตัวบ่งชี้ (Objectively Verifiable Indicators – OVI) : ดัชนีชี้วัดความสำเร็จในแต่ละระดับ แหล่งข้อมูล / วิธีพิสูจน์ (Mean of Verifiable – MOV) : วิธีการวัด / แสดงที่มาของแหล่งข้อมูล OVI เงื่อนไขความสำเร็จ (Important Assumption – IA) : ปัจจัย / สภาพที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุของผลสัมฤทธิ์ อย่างเป็นเหตุผล – เป็นไปได้

17 NS OVI MOV IA Goals Purpose Output Input
สิ่งแสดงให้เห็น ความสำเร็จ Quan – Qua – Time แหล่งข้อมูล / วิธีพิสูจน์ สภาพที่ ก่อให้เกิด ผลสำเร็จ Purpose สภาพภายหลัง การดำเนินงาน ตาม Obj. แหล่งข้อมูล / วิธีพิสูจน์ว่า ดำเนินการ บรรลุ Obj. สภาพที่ทำให้ Obj. สัมพันธ์กับ Goals Output สิ่งที่แสดงให้เห็น ผลงานเพื่อ การบรรลุ Obj. แหล่งข้อมูล / วิธีการตรวจสอบ ผลงาน สิ่งที่แสดงความ สัมพันธ์เชิง สนับสนุนระหว่าง ผลงาน – Obj. Input รายการแสดง Resources & Activities Type – Quan แหล่งข้อมูล / วิธีพิสูจน์ วิธีการหา Input – วิธีการดำเนินการ ให้ได้ผลงาน


ดาวน์โหลด ppt บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google