งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D
ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

2 ความรู้ ทัศนคติและการรับรู้ (GATS), 2011
1) คนไทย มีความรู้ในระดับดี (เกินกว่าร้อยละ 90) ว่าการสูบบุหรี่ก่อให้เกิด โรคร้ายแรงได้ การได้รับควันบุหรี่ที่ผู้อื่นสูบ ก่อให้เกิดโรคร้ายแรงในผู้สูบ ได้ และบุหรี่เป็นสารเสพติด 2) ร้อยละ 34.3% ยังคงมีความเชื่อว่า บุหรี่มวนเอง มีอันตรายน้อยกว่าบุหรี่ โรงงาน และความเชื่อเช่นนี้ ยิ่งพบสูงขึ้นในคนอายุ 60 ปีขึ้นไป ผู้ที่อาศัย อยู่ในชนบท และผู้ที่มีการศึกษาน้อย 3) ภาพคำเตือน 3 อันดับแรกที่ทำให้ผู้สูบบุหรี่อยากเลิกสูบและผู้ไม่สูบุหรี่ไม่ อยากเริ่มสูบ คือ “สูบแล้วเป็นมะเร็งช่องปาก” “สูบแล้วเป็นมะเร็งกล่อง เสียง” และ “ควันบุหรี่ทำให้เกิดมะเร็งปอด” มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

3 เกิดอะไรขึ้นเมื่อหยุดสูบบุหรี่?
2 ชั่วโมงหลังเลิกบุหรี่ นิโคตินถูกขจัดออกจากกระแสเลือด ครึ่งหนึ่ง ทำให้รู้สึกหงุดหงิด เครียด ถ้าอดทนอาการจะ หายไปในระยะเวลา 2-10 วัน ขึ้นอยู่กับระดับการเสพติดของ แต่ละคน 8 ชั่วโมงหลังเลิกสูบยาสูบ คาร์บอนมอนอกไซด์ถูกขจัดออก จากร่างกาย ออกซิเจนกลับสู่ระดับปกติ อาจรู้สึกมึนศีรษะ ง่วงนอน อาการจะหายไปเร็วถ้าออกกำลังกาย WHO. Regional office for Western Pacific, United Nations avenue. PO Box 2972, 1000 Manila, Philippines. ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 3

4 3 วัน นิโคตินถูกขจัดออกหมด (40% จะกลับไป สูบในวันนี้)
2 วันหลังเลิกบุหรี่ ความรู้สึกรับรู้รสและกลิ่นดี ขึ้นอย่างมาก ต่อมรับรสหวานจะกลับมาก่อน 3 วัน นิโคตินถูกขจัดออกหมด (40% จะกลับไป สูบในวันนี้) 3 สัปดาห์หลังเลิกสูบบุหรี่ ปอดทำงานได้ดีขึ้น ออกกำลังกายได้ดีขึ้น เหนื่อยน้อยลง รู้สึก หายใจโล่งขึ้น ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

5 2 เดือนหลังเลิกสูบบุหรี่ เลือดไหลเวียนไปยังส่วนมือและเท้าได้ดีขึ้น อาจรู้สึกชาเหมือนเข็มแทงที่ปลายมือปลายเท้าระยะหนึ่ง เป็นอาการปกติจากการฟื้นตัวของหลอดเลือด 3 เดือนหลังเลิกสูบบุหรี่ ขนอ่อนพัดโบกของเยื่อบุทางเดินหายใจทำงานดีขึ้น เริ่มขจัดสารทาร์ออกจากร่างกาย อาจทำให้มีอาการไออยู่ระยะหนึ่ง เชื้ออสุจิจะเคลื่อนไหวได้ดีเหมือนปกติ และจำนวนเชื้ออสุจิก็เพิ่มขึ้นด้วย WHO. Regional office for Western Pacific, United Nations avenue. PO Box 2972, 1000 Manila, Philippines. ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 5

6 1 ปี หลังเลิกสูบบุหรี่ ลดความเสี่ยงของโรคหัวใจลงครึ่งหนึ่ง
5 ปีหลังเลิกสูบบุหรี่ ความเสี่ยงของการเป็นโรคที่เกิดจากควันบุหรี่ ลดลงเหลือเท่าคนไม่เคยสูบ 10 ปี หลังเลิกสูบบุหรี่ ลดความเสี่ยงของ โรคมะเร็งปอดลดลงครึ่งหนึ่งของคนที่ยังสูบต่อ 15 ปี หลังเลิกสูบบุหรี่ ความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจลดลงเหลือเท่าคนไม่เคยสูบบุหรี่ WHO. Regional office for Western Pacific, United Nations avenue. PO Box 2972, 1000 Manila, Philippines. ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 6

7 เลิกบุหรี่ยากหรือง่าย อยู่ที่ใจของคุณ
ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

8 5 ใจ สู้บุหรี่

9 หาแรงจูงใจ หากำลังใจ ตั้งใจ (กำหนดวัน) ตัดใจ (ทิ้งบุหรี่ อุปกรณ์ ) แข็งใจ (หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น วางแผนสู้ รู้วิธี บรรเทาอาการ หาตัวช่วย) ไม่กลับไปสูบอีก ภูมิใจ (ให้รางวัล/ชื่นชม ตนเอง)

10 1. สร้างแรงจูงใจ/ หากำลังใจ
เขียนข้อดี ข้อเสียของการสูบบุหรี่ นำมาชั่งน้ำหนัก พูดคุยหรือสอบถามคนที่เลิกสูบได้แล้ว เขียนเหตุผลที่ทำให้อยากเลิก เก็บไว้กับตัวและในที่ที่เห็นได้ง่าย บอกคนรู้ใจ ให้เป็นกำลังใจ หรือชวนเพื่อนให้เลิกสูบด้วยกัน มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

11 เลิกบุหรี่แล้วมีแต่ได้
อิสรภาพ สุขภาพ กาย จิต ความอบอุ่นใจ ครอบครัว ผู้ร่วมงาน สังคม ชีวิต เงิน บุญ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

12 กำหนดวันที่จะลงมือเลิกสูบบุหรี่ คิดแล้วทำทันที วันนี้ ดีที่สุด
2. ตั้งใจ...จะเลิกให้ได้ กำหนดวันที่จะลงมือเลิกสูบบุหรี่ คิดแล้วทำทันที วันนี้ ดีที่สุด อย่ารอเกิน 14 วัน

13 3. ตัดใจ..... ไม่รอช้า…ลงมือ ทิ้งบุหรี่ ทิ้งหัวใจที่รักบุหรี่
ทิ้งหรือแยกบุหรี่และอุปกรณ์ออกจากกัน ทิ้งหัวใจที่รักบุหรี่ ไม่ซื้อ ไม่ขอ ไม่รับ ไม่จุด ไม่ดูด

14 เลิกทีละมวน สู้ทีละวัน มวนแรกไม่จับ มวนนี้ไม่จุด ไม่สูบในเวลาที่เคยสูบ
ไม่สูบในที่ที่เคยสูบ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

15 เมื่อรู้สึกอยากสูบบุหรี่
อย่าสูบบุหรี่ทันทีที่อยากสูบ ยืดเวลาออกไป 3-5 นาที สูดลมหายใจเข้าออกลึกๆ และช้าๆ 2-3 ครั้ง จะช่วยให้ผ่อนคลาย ดื่มน้ำหรือล้างหน้า อาบน้ำ อมน้ำ เมื่อรู้สึกหงุดหงิดกระวนกระวาย ทำกิจกรรมอื่น เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ ขยัน งานยุ่ง มุ่งออกกำลังกาย คุยกับคนรู้ใจ/บอกตัวเอง เสมอว่าตั้งใจเลิกสูบแน่นอนแล้ว คิดถึง แรงจูงใจ คิดถึงเงิน ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

16 4. แข็งใจ .. หลีกเลี่ยงสิ่งต่อไปนี้
แอลกอฮอล์ คนสูบบุหรี่ สถานที่ที่มีการสูบบุหรี่ กาแฟ สภาพแวดล้อมที่เคยสูบบุหรี่ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

17 ไม่ท้าทายบุหรี่ อย่าประมาท คิดว่าเลิกได้แล้วลองมวนเดียวคงไม่เป็นไร
คิดถึงความตั้งใจ ที่จะทำให้สำเร็จ คิดถึงความลำบาก กว่าจะเลิกสูบได้ กล้าปฏิเสธ “ไม่สูบแล้ว” “เลิกสูบแล้ว” ไม่ซื้อ ไม่ขอ ไม่รับ ไม่จุด ไม่ดูด ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

18 5. ดีใจ ที่เลิกได้แล้ว ให้รางวัลตนเอง ชื่นชมตนเอง
“เป็นความภาคภูมิใจครั้งยิ่งใหญ่ในชีวิต เพราะการเลิก บุหรี่ได้ คือการเอาชนะใจตนเอง” มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

19 บุหรี่ที่ปลอดภัยมีชนิดเดียว คือ
บุหรี่ที่ยังไม่ได้จุดไฟ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

20

21 X


ดาวน์โหลด ppt 5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google