ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
พลวัตการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 ในวันที่ 8 กรกฎาคม เวลา น ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ รศ.สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ address: สถาบันคลังสมองของชาติ
2
นโยบายการค้าเสรีปัจจัยเร่งสู่ความเป็นพลวัตของภาคการเกษตรไทย
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ นโยบายการค้าเสรีปัจจัยเร่งสู่ความเป็นพลวัตของภาคการเกษตรไทย 2
3
รูปแบบการบริโภคที่กำลังเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดทางเลือกในระบบการผลิต
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ แรงกดดันจากด้านอุปสงค์สู่ความต้องการอาหารปลอดภัยและการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รูปแบบการบริโภคที่กำลังเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดทางเลือกในระบบการผลิต ความต้องการอาหารปลอดภัย อาหารอินทรีย์ ความต้องการอาหารที่มีคุณค่าโภชนาการ อาหารที่เป็นยา ความกังวลเรื่องผลกระทบด้านสังคม: โลกร้อน สวัสดิการสัตว์ การใช้น้ำมากเกินไป การกีดกันการค้า เกิดทางเลือกในระบบการผลิตในหลายรูปแบบมากขึ้น เช่น เกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัย การเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
4
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ การขับเคลื่อนภาคการเกษตรไทยในยุคของการแข่งขันทางการค้าจำเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกิดกรอบแนวคิดในการใช้พื้นที่และทรัพยากรเท่าเดิมแต่ทำอย่างไรจะสร้างสินค้าที่มีทั้งคุณค่าและมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นตัวแปรสำคัญในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและรวมถึงการสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับสินค้าเกษตร มีการนำเอาทุนทางสังคมและทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาสร้างการขับเคลื่อนและเป็นจุดขายทางการตลาด ความรู้ เทคโนโลยี/นวัตกรรม การยกระดับคุณค่าและมูลค่า สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
5
เศรษฐกิจสร้างสรรค์: ใช้ความคิดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ เศรษฐกิจสร้างสรรค์: ใช้ความคิดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม กรณีตัวอย่าง
6
Let Your Rice be Your Medicine
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ หากคิดว่าข้าวเป็นได้มากกว่าอาหารจานหลัก คุณภาพดี สุขภาพและโภชนาการที่ดี การมีชีวิตที่แข็งแรงและยืนนาน Let Your Rice be Your Medicine Iron and high Fe bioavailability Low – medium glycemic index High Antioxidants Selenium/ Folate/ Phytonutrients (สารฟฤกษเคมี) ที่มา: รัชนี คงคาฉุยฉาย 2556
7
ข้าวหอมมะลินิลมีโภชนาการ
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ ข้าวเมื่อบวกความคิดเชิงนวัตกรรมจะสร้างมูลค่าต่อหน่วยให้สูงขึ้น การพัฒนาความหลากหลายสู่การเป็น healthy food &cosmetic ราคาข้าวเปลือก 25 บาทต่อกก. ราคาข้าวสาร 50 บาทต่อกก.. นาอินทรีย์ ข้าวหอมมะลิ เครื่องสำอางค์/spa 6,500 บาทต่อกก. ข้าวขาว 20 บาท/กก. ข้าวมีกลิ่นหอม 35บาท/กก. ข้าวหอมมะลินิลมีโภชนาการ >80 บาท/กก. Riceberry oil ที่มา: ดัดแปลงจาก Apichart Vannvichit
8
การยกระดับห่วงโซ่อุปทานขึ้นเป็นห่วงโซ่คุณค่า
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ การยกระดับห่วงโซ่อุปทานขึ้นเป็นห่วงโซ่คุณค่า ใช้นวัตกรรมและความคิดเพิ่มมูลค่าในห่วงโซ่อุปทาน ระบบการแปรรูป (Processing System) Marketing System) ระบบการบริโภค (Consumption System) ระบบการผลิต (Production System) ระบบการตลาด (
9
การเปลี่ยนมิติคิดทำให้การเกษตรเชื่อมสู่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ การเปลี่ยนมิติคิดทำให้การเกษตรเชื่อมสู่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ สร้างกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่ใช้การเกษตรหรือพื้นที่เกษตรเป็นส่วนประกอบ เพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มจากกิจกรรมการทำฟาร์ม ขายสินค้าที่เป็นสิ่งแวดล้อมได้แก่ green environment อากาศบริสุทธิ์ และวิถีชีวิตชนบท ขายผลผลิตการเกษตรในแหล่งที่ตั้งแทนที่การนำไปขายสู่ตลาดในเมือง
10
การเพิ่มมิติด้านพลังงานสะอาดโดยมีการเกษตรเป็นฐานการผลิต
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ การเพิ่มมิติด้านพลังงานสะอาดโดยมีการเกษตรเป็นฐานการผลิต
11
To be specialize in commodity
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ มิติการขับเคลื่อนภาคการเกษตรสู่การเป็น Bio-Base Economy Industrial biotechnology; Biorefineries; Biobase chemistry; Biobase plastic and composites. To be specialized in bio-base commodity Agriculture base การเกษตรอาเซียน To be specialize in commodity Time dimension
12
มิติการต่อเติมให้ไทยเป็นหนึ่งในครัวของโลก
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ มิติการต่อเติมให้ไทยเป็นหนึ่งในครัวของโลก มุ่งตอบสนองความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร พัฒนาคุณภาพของสินค้าให้ได้มาตรฐานสากล Good Agricultural Practice (GAP) Good Manufacturing Practice (GMP) การผลิตที่ตอบสนองต่อความปลอดภัยด้านอาหาร สุขอนามัยตามข้อตกลงของ WTO Certifications, Inspection, Testing, Health-related labeling การเร่งสร้างและยกระดับนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและสินค้าเกษตรแปรรูปเพื่อให้แข่งขันได้ในตลาดการค้าของโลก
13
มิติของความมั่นคงและยั่งยืนในอาชีพของเกษตรกรรายย่อย
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ มิติของความมั่นคงและยั่งยืนในอาชีพของเกษตรกรรายย่อย ได้รับคุณค่าจากการบริโภคอาหารที่ได้คุณภาพ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความปลอดภัย เข้าถึงได้และมีอยู่อย่างพอเพียง ผูกโยงเครือข่ายสร้างเป็นตลาดจำเพาะ(nich market) มีกลไกรับรองคุณค่า มีช่องทางในการกระจายสินค้า ที่เป็นธรรม สร้างความจำเพาะในคุณค่าของสินค้า(niche product) ใช้ปัจจัยการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีกลไกของกิจกรรมและการจัดการที่ดี ตระหนักถึงความสำคัญของระบบนิเวศ สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ผู้ผลิต การเชื่อมต่อกิจกรรมกลางน้ำ ผู้บริโภค เส้นทางสู่เกษตรกรรมยั่งยืน การรักษาไว้ซึ่งความสมดุลของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและคุณภาพชีวิตที่ดี สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม เกษตรกรรมยั่งยืน คุณภาพชีวิตที่ดีของเกษตรกร การผสมผสานการผลิตพืช และสัตว์ ดิน น้ำ อากาศbiodiversity ประสิทธิภาพ ความเป็นธรรม
14
มิติของเกษตรกรรายย่อยกับการก้าวพ้นความยากจน
เวทีขับเคลื่อนขบวนการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ครั้งที่ 2 วันที่ 8 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ มิติของเกษตรกรรายย่อยกับการก้าวพ้นความยากจน ชุมชนมีพันธกิจร่วม (Community engagement) พันธุ์จำเพาะ ธุรกิจเพื่อสังคม วิธีการผลิตจำเพาะ สร้างช่องทางตลาดใหม่ สร้างวิธีการจัดการใหม่ สร้างผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น ผูกโยงการตลาดให้เข้ากับระบบการผลิตอย่างเป็นธรรมและมีประสิทธิภาพ ยกระดับการจัดการในไร่นาของเกษตรกรหรือการผลิตสินค้าของชุมชน ภาควิชาการและภาครัฐมีพันธกิจร่วม(University and Public Sector engagement) ภาคธุรกิจมีพันธกิจร่วม (Business engagement) ทีมา: ดัดแปลงจาก อภิชาติ วรรณวิจิตร 2557
15
ขอบคุณ Q&A สถาบันคลังสมองของชาติ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.