งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
โรงพยาบาลกุดรัง

2 ขับเคลื่อน DHS RTI จนได้รับรางวัลระดับดีเยี่ยมระดับกระทรวงและเขต
1.Prevention ขับเคลื่อน DHS RTI จนได้รับรางวัลระดับดีเยี่ยมระดับกระทรวงและเขต คณะกรรมการภาคีเครือข่ายหัวหน้าส่วนราชการร่วมได้กำหนดกลยุทธ์หลักในการแก้ไขปัญหาการป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางบก คือการดำเนินงานในรูปแบบสหสาขาและใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดกระบวนการดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุจราจร ที่ตำบลในเครือข่ายอำเภอกุดรังทั่วทั้งอำเภอครอบคลุม ๕ ตำบล ๘ รพสต จึงร่วมกันดำเนินการในพื้นที่ ได้จัดสรรแผนขอสนับสนุนงบกองทุนจาก อบต.เพื่อขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาในปี ๒๕๖๐

3 ผู้ป่วยฉุกเฉินมาด้วยEMS 40.2%
2.Pre-hospital ผู้ป่วยฉุกเฉินมาด้วยEMS 40.2% จัดบริการ EMS คุณภาพ เริ่มขึ้นทะเบียน และจัดบริการ 1 ตุลาคมปี 2560 ประเภทผู้ป่วย/ จำแนกโรค total มา รพ โดยระบบ EMS ALS BLS FR OHCA ACS 1 Stroke 18 3 4 Major Trauma 5 ผู้ป่วย Level 1 22 2 6 ผู้ป่วย Level 2 34 12 8 ผู้ป่วย level 3 240 38 ผู้ป่วย level 4+5 2519 42 118 282 สาเหตุที่ไม่มา โดยระบบ EMS จำนวน ร้อยละ ไม่รู้จัก 1669 - มีรถส่วนตัว 38 5.49% ไม่ต้องการรอนาน 7 1.01% บริการช้า 3 0.43% Triage EMS Refer มาเอง % มาโดยระบบ EMS ALS BLS FR Level 1 2 6 3 11 50 Level 2 4 12 8 10 70.58 รวม 18 31 62.5

4 3.In hospital ประเภทผู้ป่วย ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 Resuscitation 50 66 22 Emergency 93 195 34 Urgency 1949 4389 240 Less Urgency 2484 1133 Non Urgency 2682 2943 1386 TOTAL 12352 14995 4769

5 การพัฒนา ER คุณภาพ โรงพยาบาลกุดรัง
TEAM จำนวน system ผล แพทย์EP - ESI triage EN /EPN HSI Paramedic ECS คุณภาพ 56.17% Safety driver 3 Quality CPR ผ่าน EMT 1 Medical Director FTE 10 Dispatch assisted No Situation Analysis อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินภายใน ๒๔ ชม อัตราการรอดชีวิตผู้ป่วย OHCA อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยSevere Traumatic Brain Injury ร้อยละ การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพ จุดมุ่งเน้น ระบบบริการ 1. จัดบริการ ER คุณภาพ 2. จัดตั้งศูนย์ประสานส่งต่อ 3. พัฒนาระบบการดูแล Emergency 4. จัดระบบ Triage Risk Adjusted Mortality ER Crowding Critical point for Care Process 2P safety Hospital safety Index พัฒนาบุคลากร 1.จัดทำแผนพัฒนาบุคลากร ตามความต้องการของสห วิชาชีพ 2.เสริมสร้าง ความก้าวหน้า ขวัญกำลังใจ ทีม ER/ Refer 3.พัฒนาศักยภาพทีมER 4.เสริมสร้างขีดความสามารถ ให้ ทีม Refer 5.พัฒนาทักษะ การTriage ตามแนวทาง ESI 6. R2R 7. Innovation พัฒนามาตรฐาน 1.พัฒนา/ รับรองเกณฑ์ ประเมินคุณภาพการบริการ ของ ECS คุณภาพ / ER คุณภาพ / HSI 2.พัฒนาต้นแบบ ER คุณภาพ Lead Team ระดับอำเภอ จังหวัด เป็นทีมเสริมพลัง ให้กระบวนการพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง 3.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ และการเชิดชู เกียรติสร้างขวัญกำลังใจ ระบบสนับสนุน 1.พัฒนาประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ ประสานการมีส่วนร่วม 2. พัฒนาอัตรากำลัง การเรียนรู้ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินและ สหวิชาชีพ/ ATEC 3. พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร 4. แต่งตั้งคณะกรรมการ ติดตามกำกับ ประเมินผล แนวทางการการดำเนิน งาน ปี2561

6 PA: ECS (ER คุณภาพ ) ข้อมูลมูลพื้นฐาน ER คุณภาพ โรงพยาบาลกุดรัง แพทย์GP 3 คน RN3 คน EMTI 1 คน NA 1 คน driver safty 3คน ตค พย ธค รวม resuscitation 6 10 22 emergency 17 7 34 Urgency 60 95 85 240 Less Urgent 382 390 361 1133 Non- Urgent 460 470 456 1386 total 1325 1767 1677 4769 ตค พย ธค รวม Triage Level 1+2 13 17 16 56 Triage Level 1 6 10 22 Triage Level 2 7 34 Triage Level 1+2 Death

7 แผนการดำเนินงาน ER ปี 2561 1. ER Crowding 2. 2P ER Safety Goal
3. Emergency Care Data Set & System ประเด็นปัญหา มาตรการแก้ไข ผู้รับบริการจำนวนมาก 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. พัฒนาระบบปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ 3. เพิ่มประสิทธิภาพการ Flow ของผู้ป่วย ระยะเวลา รอคอยการรักษานาน 1. พัฒนาระบบคัดกรอง 2. Nurse 3. Co-ordinator / Manager ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข ระบบสื่อสาร 1. สื่อสารขั้นตอน/สถานะ การให้การรักษาพยาบาล เพื่อลดความขัดแย้ง ความปลอดภัยของบุคลากร/ผู้ป่วย 1. ประตูห้องฉุกเฉิน Safety 2. พนักงานรักษาความปลอดภัย 3. กล้องวงจรปิด 4. การจัดการ Violence in ER 5. Ambulance Safety 6. มาตรการดูแลหลังได้รับผลกระทบ อัตรากำลัง 1. ทบทวนความเหมาะสมของ Work load 2. ทบทวนความเหมาะสมของค่าตอบแทน(เสี่ยง) การจัดการความเสี่ยง 1. อบรมการบริหารจัดการความเสี่ยง 2. Rapid Team คุณภาพการรักษา 1. ER Fast track ทบทวนคุณภาพการรักษา 1. Audit / Peer Review 2. วิจัย / นวัตกรรม 3. Mortality Conference ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข พัฒนาระบบข้อมูล จัดทำคู่มือการจัดบริการและพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยในห้องฉุกเฉิน การถ่ายทอดนโยบาย บูรณาการฐานข้อมูล IS/PHER/ITEMS/Refer/HDC พัฒนาศักยภาพบุคลากร 1. แพทย์ 2. พยาบาล EN/ENP 3. Paramedic

8 อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง
ปี งบประมาณ 2561 Triage Level 1+2 Triage Level 1 Triage Level 2 เสียชีวิต (ราย) ทั้งหมด ( ราย) % ( ราย ) ตุลาคม 60 13 6 17 พฤศจิกายน 60 10 7 ธันวาคม 60 16 สาเหตุ 5 อันดับโรคฉุกเฉิน 1.hypoglycemia 2. Severe Pneumonia 3. Respiratory Failure 4. Hypovolemic shock 5. Cardiogenic shock การทบทวนสาเหตุการเสียชีวิต จำนวน ราย Delay diagnosis 0 ราย Delay treatment 0 ราย Miss diagnosis 1 ราย Inappropriate treatment 0ราย Root cause Analysis ผลการทบทวน: ข้อจำกัดจัดบริการXray ถึง20.00น แนวทางการแก้ไขปัญหา หลัง20.00น ส่งinvestigateที่รพ node

9 National triage แผนการพัฒนา แนวทาง Triage : ESI
ผลการพัฒนา – Competency RN ทำ triageESI ได้ 100 % - ผู้ป่วยได้รับการtriage ถูกต้องกี่ราย ( %) Under triage กี่ราย 36 ราย ( 1.27 % ) การแก้ไข Under triage หัวหน้าเวร Audit ทุกรายที่ triage ส่งเคยเข้ามาในER Care Outcome - case level 1 ได้รับการ รักษาทันที 21 คน (N=22) มี1 ราย ทำ paccing อุปกรณ์ไม่พร้อม จึงส่ง refer รพบรบือ การแก้ไข ซื้อเครื่องสำรอง DF มาไว้เพิ่มและสำรอง paccer ให้พร้อมใช้ - case level 2 ได้รับการรักษา 34 คน ( N= 34) แผนการพัฒนา 1. แนวทางการ Triage การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ให้ความรู้ อบรม ทบทวนแนวทางทุกวัน จนปฏิบัติได้จากนั้นสุ่มเวรละ สอง chart แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็น

10 ผลการดำเนินงาน ER ปี 2561 ไตรมาส 1
Resuscitation Emergency Urgency Less Urgent เวรเช้า อัตรากำลัง พยาบาล 4 คน EMT-I 1 คน work load โดยเฉลี่ย ผู้ป่วยประเภท RและE 0.5 คน/เวร ประเภท U เฉลี่ย 6 คน/เวร ประเภท SU เฉลี่ย 10คน/เวร N 15คน/เวร ให้การบริการผู้ป่วยได้แต่มีความเสี่ยงต่อการเกิดข้อร้องเรียนจากการเข้าถึงบริการล่าช้า ทีมดูแลผู้ป่วยในER ห้องสังเกตอาการ การออกให้บริการ EMS และ refer ใช้บุคลากรในทีมเดียวกัน เวรบ่าย อัตรากำลัง พยาบาล 2 คน EMT-I 1 คน work load โดยเฉลี่ย ผู้ป่วยประเภท RและE 0.5 คน/เวร ประเภท U เฉลี่ย 4 คน/เวร ประเภท SU เฉลี่ย 8คน/เวร N 10 คน/เวร ให้การบริการ ทีมดูแลผู้ป่วยในER ห้องสังเกตอาการ การออกให้บริการ EMS และ refer ใช้บุคลากรในทีมเดียวกัน

11 การให้ข้อมูลผู้รับบริการ
ผลงาน 2P ER Safety Goal ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข การให้ข้อมูลผู้รับบริการ 1. สื่อสารขั้นตอน/สถานะ การให้การรักษาพยาบาล เพื่อลดความขัดแย้ง ความปลอดภัยของบุคลากร/ผู้ป่วย 1. ประตูห้องฉุกเฉิน Safety 2. พนักงานรักษาความปลอดภัย 3. กล้องวงจรปิด 4. การจัดการ Violence in ER 5. Ambulance Safety 6. มาตรการดูแลหลังได้รับผลกระทบ การให้ข้อมูลผู้รับบริการ มีเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ อยู่หน้าห้องฉุกเฉิน โดยพยาบาล หน้าที่สองและผู้ช่วยพยาบาล สลับการให้คำแนะนำผู้ป่วย ที่มารอรับบริการ การขึ้นป้ายประชาสัมพันธ์รายนามผู้บาด เจ็บ กรณีอุบัติเหตุหมู่ ส่วนการให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวราย บุคคลในกระบวนการการทำ discharge plan โดยพยาบาล หัวหน้าเวรที่ให้การดูแลผู้ป่วยและญาติก่อนจำหน่าย

12 ผลงาน 2P ER Safety Goal ผลการพัฒนาจาก Audit อัตรากำลัง
1. ทบทวนความเหมาะสมของ Work load 2. ทบทวนความเหมาะสมของค่าตอบแทน(เสี่ยง) รายงานผลการทบทวนอัตรากำลังการให้บริการ ER การจัดการ ความเสี่ยง 1. อบรมการบริหารจัดการความเสี่ยง(อบรมภายใน ) 2. Rapid Team (แผนพัฒนาบุคลากร) คุณภาพการรักษา ER Fast track ( ผลงาน ตค – ธค ๖๐) Stoke case STEMI case Head injury case High risk pregnancy case New born case case Sepsis Case 2. แพทย์ผ่านอบรมหลักสูตร ATEC จำนวน ท่าน ทบทวนคุณภาพการรักษา 1. Audit / Peer Review 2. วิจัย / นวัตกรรม 3. Mortality Conference Audit ครั้ง วิจัย / นวัตกรรม ครั้ง ผลการพัฒนาจาก Audit ประเด็นแนวทางการดูแลร่วมระหว่างบรบือ-กุดรังในผู้ป่วย MI แนวทางการดูแลผู้ป่วย Trauma ในเครือข่ายจ.มค

13 แผนการดำเนินงาน 4.Disaster ปี 2561
1. การประเมินความเสี่ยงโดยใช้ Hospital Safety Index 2. จัดทำแผนสาธารณภัยในโรงพยาบาล 3. การซ้อมแผนและประเมินผลการซ้อม ประเด็นปัญหา มาตรการแก้ไข การเตรียมความพร้อม Hospital Safety 1. ประเมิน Hospital Safety Index ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข 1.ไม่มีคู่มือ การจัดการสาธารณภัย ระดับ โรงพยาบาลและระดับจังหวัด 2. บุคลากร 1. จัดทำคู่มือ 2. แนวทางปฏิบัติ EOC 3. พัฒนาบุคลากร ความรู้ ทักษะ ความเพียงพอ (ทีมmini MERT) ประเด็นพัฒนา มาตรการแก้ไข การสื่อสาร ความรู้ความเข้าใจ ระดับปฏิบัติ บริหาร 1. ฝึกซ้อมสถานการณ์ / EOC 2. ทบทวน/ปรับปรุงคู่มือ 3. การบูรณาการแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

14 แผนการดำเนินงาน Disaster ปี 2561
1. การประเมินความเสี่ยงโดยใช้ Hospital Safety Index 2. จัดทำแผนสาธารณภัยในโรงพยาบาล 3. การซ้อมแผนและประเมินผลการซ้อม ประเด็นปัญหา แผนพัฒนา การเตรียมความพร้อม Hospital Safety 1. ประเมิน Hospital Safety Index ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา 1.ไม่มีคู่มือ การจัดการสาธารณภัย ระดับ โรงพยาบาลและระดับจังหวัด 2. บุคลากร 1. จัดทำคู่มือ 2. แนวทางปฏิบัติ EOC 3. พัฒนาบุคลากร ความรู้ ทักษะ ความเพียงพอ (ทีมMERT mini MERT) ประเด็นพัฒนา แผนพัฒนา การสื่อสาร ความรู้ความเข้าใจ ระดับปฏิบัติ บริหาร 1. ฝึกซ้อมสถานการณ์ / EOC 2. ทบทวน/ปรับปรุงคู่มือ 3. การบูรณาการแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขับเคลื่อน DHS RTI Team ได้รับรางวัลระดับดีเยี่ยม ในระดับ จังหวัด ระดับเขต และระดับกระทรวง

15 ผลงานปี2561 เป้าหมาย ผลงาน รพ.กุดรัง ECS ECS คุณภาพ >70% 56.17% EMS
แจ้งเหตุผ่าน 1669 80% 82.3% Response time in 10 นาที 75% 70.66% Refer Refer out นอกเขตใน 4 สาขาหลัก ลดลง ร้อยละ 10 เป็น0 ทุกสาขา Disaster ผ่านการประเมิน ร้อยละ40 40 ER ROSC OHCA <30% NA (S) Survive to Admission <15% (F2,M) Survive to Refer อัตราการตาย มี Ps score > 0.75 <1%

16 GAP และ แผนพัฒนา รพ.กุดรัง
Work Gap บริหาร การกำกับติดตาม กำหนดแผนการติดตามการดำเนินงาน การรักษาพยาบาล Under Triage / ขาดการ re-evaluation พัฒนาสมรรถนะ /ทบทวนกระบวนการ re-evaluation พัฒนานวัตกรรม ทบทวน สื่อสารให้สหวิชาชีพเข้าใจตรงกันและมีการปฏิบัติตามแนวทาง มีหลักฐานการทบทวน ระบบบริหารจัดการ ไม่มีECS ในแผนยุทธศาสตร์ รพ. มีในแผนย่อยของหน่วยงาน Information system ขาดการวิเคราะห์ข้อมูล non trauma วิเคราะห์ข้อมูล non trauma นำข้อมูลด้านความพึงพอใจมาวิเคราะห์ แก้ไข สื่อสาร มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูล ECS และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลประชากรแฝงในพื้นที่ Referral system ระบบส่งต่อ น้ำ อากาศ แพทย์ประจำศูนย์ ระบบการส่งต่อผู้ป่วย น้ำ อากาศ

17 ECS คุณภาพ โรงพยาบาลกุดรัง ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
1.สภาพปัญหา ECS(Emergency Care System)คือระบบการรักษาพยาบาล หมายถึงระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ได้รับการดูแลรักษาที่มีคุณภาพและป้องกันภาวะทุพพลภาพ ที่อาจเกิดขึ้นในภาวะปกติและภาวะภัยพิบัติ 2.ผลการพัฒนา - อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยที่มีค่าPS > 0.75 ร้อยละ 0 - อัตรารอดชีวิตของผู้ป่วยOHCA ร้อยละ 0 - อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤติฉุกเฉินภาย 24 ชม ร้อยละ 0 - ผลประเมินECS คุณภาพ ร้อยละ ผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินมาโดยระบบEMS ร้อยละ การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง ร้อยละ100 6 building box 1.การจัดการบริการสุขภาพ => พัฒนาการ triage / EMS/ER/ มาตรฐานrefer fast track 2.ระบบสารสนเทศ =>จัดระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง PHER,ITEMงาน EMS , IS, refer online 3.การจัดการกำลังคนให้เพียงพอและเหมาะสมกับ ภาระงาน => ในภาวะปกติและเทศกาล,ส่งเสริม ศักยภาพหน่วยกู้ชีพ อปท. 4.การเงินการคลังสาธารณสุข => พัฒนาระบบการเบิก ค่าออกปฏิบัติการให้ทันเวลา ได้คุณภาพ 5.วัสดุครุภัณฑ์ทางการแพทย์และเทคโนโลยี =>มีวัสดุ อุปกรณ์เพียงพอทั้งเครือข่าย, มีระบบconsult 6.ธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ => ผ่านการนิเทศECS คุณภาพ ในไตรมาส 1 ปีงบ2561 3.เป้าหมายบริการ - เพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้บาดเจ็บวิกฤตฉุกเฉิน - เพิ่มอัตราการรอดชีวิต ลดอัตราตาย ลดความพิการ - มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการบริหารจัดการ - การมีส่วนร่วมในการพัฒนาของทุกทีม ภาคีเครือข่าย - เพิ่มศักยภาพของบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน - ความพึงพอใจสำหรับผู้รับบริการและผู้ให้บริการ 4.เป้าหมายผลลัพธ์ -อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วย OHCA > ร้อยละ 20 -อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง < ร้อยละ 12 -ผลการประเมิน ECS คุณภาพ มากกว่า ร้อยละ 40 -ร้อยละผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินมาโดยระบบ EMS ร้อยละ 60 -อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยที่มี Ps > 0.75 < 1 -ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลงร้อยละ 50


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google