ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยHanna-Mari Lehtinen ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
การระบาด โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus (cVDPV) ในประเทศลาว พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ กรมควบคุมโรค
2
อะไรคือ Vaccine Derived Poliovirus
สถานการณ์ในประเทศลาว สถานการณ์ในประเทศไทย มาตรการป้องกันควบคุม polio virus importation
3
VDPV (vaccine-derived poliovirus)
1. Circulating type (c-VDPV) วัคซีนกลายพันธุ์เพิ่มความรุนแรง เนื่องจากมีการแบ่งตัวอยู่ในกลุ่มคนที่มีระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคต่ำเป็นเวลานาน 2. Immune deficiency type (i-VDPV) วัคซีนกลายพันธุ์เพิ่มความรุนแรง ในคนที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง 3. Ambiguous type (a-VDPV)
4
c- VDPV OPV เชื้อแบ่งตัวต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนเกิด mutation
เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized c- VDPV เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized เชื้อแบ่งตัวต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนเกิด mutation เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized เชื้อ OPV สามารถอยู่ในลำไส้ได้นาน 6 สัปดาห์ แบ่งตัวและขับออกสู่สิ่งแวดล้อมจำนวนมาก เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized เด็กไม่มีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม Immunized OPV เด็กมีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม boost เด็กมีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม boost เด็กมีภูมิคุ้มกัน อยู่เดิม boost เชื้อหมดไปโดยเร็ว ไม่เกิด mutation เด็กขับเชื้อ OPV ออกมาในสิ่งแวดล้อมอย่างรวดเร็ว เชื้อไม่สามารถเติบโตแบ่งตัวในลำไส้เด็กได้
5
เด็กที่มีภูมิคุ้มกัน
i- VDPV เด็กที่มีภูมิคุ้มกัน บกพร่อง VDPV เด็กไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันต่อ OPV ได้ ทำให้เชื้อแบ่งตัวอยู่ในลำไส้ได้นานเป็นปี จนเกิด mutation OPV
6
กรณีประเทศลาว ความครอบคลุมวัคซีน OPV ในพื้นที่ต่ำมาก 20-40% ทำให้มี cVDPV การตรวจจับไม่รวดเร็วขาดประสิทธิภาพ ทำให้เกิดการระบาดในวงกว้าง การรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อควบคุมโรคในช่วงแรก มีความครอบคลุมไม่สูง
8
สถานการณ์ในประเทศไทย ไม่มีโปลิโอมาตั้งแต่ปี 2540
ความครอบคลุมวัคซีน OPV ครั้งที่ 3 ในเด็กโดยทั่วไป > 95% การเฝ้าระวังผู้ป่วยอัมพาตเฉียบพลันในเด็ก อยู่ในอัตรา 1-2 ต่อแสนประชากร กลุ่มเสี่ยงสำคัญได้แก่ จังหวัดชายแดนใต้ เด็กต่างด้าว เด็กบริเวณตะเข็บชายแดนไทย-พม่า
9
ระดับภูมิคุ้มกันต่อโปลิโอในประชากรไทย สำรวจเมื่อ 12 ปีที่ผ่านมา (2547)
อายุในปัจจุบัน
10
สถานการณ์บริเวณจังหวัดชายแดนไทย-ลาว มาตรการที่ดำเนินการแล้ว
ความครอบคลุมวัคซีน OPV ครั้งที่ 3 ในเด็กโดยทั่วไป > 95% การเฝ้าระวังผู้ป่วยอัมพาตเฉียบพลันในเด็ก อยู่ในอัตรา 1-2 ต่อแสนปชก มีเด็กกลุ่มเสี่ยงน้อย มาตรการที่ดำเนินการแล้ว (เลย อุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ นครพนม ขอนแก่น) ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน และเก็บตกให้ได้ตามเกณฑ์ เร่งรัดการเฝ้าระวัง โดยการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกใน รพ. ทุกสัปดาห์ ก่อนรายงาน zero report เตรียมมาตรการป้องกันในโรงพยาบาล กรณีมีผู้ป่วย AFP import จากลาว (มีแล้ว 1 ราย)
11
ดำเนินการในกลุ่มผู้เดินทางเข้าออก ไทย-ลาว
มาตรการเพิ่มเติม ดำเนินการในกลุ่มผู้เดินทางเข้าออก ไทย-ลาว ผู้เดินทางที่พำนักอยู่ใน สปป. ลาวตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป ทุกคน ควรได้รับวัคซีนโปลิโอ 1 ครั้ง ก่อนเดินทางเข้ามายังประเทศไทย คนไทยที่จะเดินทางไปพำนักอยู่ใน สปป. ลาวตั้งแต่ 1 เดือน ทุกคนควรได้รับวัคซีนโปลิโอก่อนเดินทาง ดังนี้ เด็กอายุ < 15 ปี ควรได้รับวัคซีนโปลิโออย่างน้อย 3 ครั้ง ประชาชนอายุ > 15 ปี ควรได้รับวัคซีนโปลิโอ 1 ครั้ง
12
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ด่านท่าลี่ เลย
ตรวจสอบการรับวัคซีนผู้เดินทางจากลาว หากไม่เคยรับวัคซีน / ไม่มีเอกสาร แนะนำให้ไปรับวัคซีนในลาว เมื่อเดินทางกลับไป ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ด่านท่าลี่ เลย ด่านบึงกาฬ บึงกาฬ ด่านสะพานมิตรภาพไทย – ลาว มุกดาหาร ด่านสะพาน มิตรภาพไทย – ลาว นครพนม ด่านสะพานมิตรภาพไทย – ลาว หนองคาย ด่านช่องเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี ตรวจสอบการรับวัคซีนคนไทยที่จะไปลาวนานกว่า 1 เดือน < 15 ปี ถ้ารับไม่ครบ 3 ครั้ง หยอดให้ 1ครั้ง > 15 ปี หยอด 1 ครั้งทุกคน
13
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.