ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMarit Inger-Lise Hjelle ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินและปรับปรุงการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2562 สำนักงาน กกพ.
14-15 พฤศจิกายน 2561
2
วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีความรู้และ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 เพื่อจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (ปค.5) ของฝ่ายงาน
3
หัวข้อบรรยาย 1. สาระสำคัญหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 2. การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (ปค.5) ของฝ่ายงาน
4
หัวข้อบรรยาย 1. หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
5
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 เม.ย. 61 มาตรา 79 ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและ การบริหารจัดการความเสี่ยง
11
สรุปเปรียบเทียบ
12
สำนักงาน กกพ. กกพ. เลขาธิการสำนักงาน กกพ.
หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 1. โครงสร้าง “หน่วยงานของรัฐ” (๗) หน่วยงานอื่นของรัฐตามที่กฎหมายกำหนด สำนักงาน กกพ. “ผู้กำกับดูแล” บุคคล หรือคณะบุคคลผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการกำกับดูแลหรือบังคับบัญชาของหน่วยงานของรัฐ กกพ. “หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ” ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานของรัฐ เลขาธิการสำนักงาน กกพ. “คณะกรรมการ” คณะกรรมการที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงานของรัฐ คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักงาน กกพ.
13
2. แบบรายงานและการเสนอรายงาน
หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 2. แบบรายงานและการเสนอรายงาน แบบเดิม แบบใหม่ การเสนอรายงาน ปอ.1 ปค.3 หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ภายใน ลกพ. ถึง กกพ. (เสนอวาระเข้า กกพ. เพื่อทราบ ใน ฐานะผู้กำกับดูแล) ภายนอก ลกพ. ถึง อธิบดีกรมบัญชีกลาง (หนังสือนำเพื่อทราบและดำเนินการ ต่อไป ในฐานะเป็นหน่วยงานกลางที่ รวบรวมของทุกหน่วยงาน) ลกพ. ถึง ปลัดกระทรวงการคลัง (แบบรายงาน ปค.3 ปค.4 ปค.5 และ ปค.6) ปอ.2 ปค.4 รายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ปอ.3 ปค.5 รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ปส. ปค.6 รายงานการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน
14
3. แบบรายงานและการเสนอรายงาน
หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 วค.1 หนังสือรับรองการจัดวางระบบการควบคุมภายใน แบบใหม่ วค.2 รายงานการจัดวางระบบการควบคุมภายใน การเสนอรายงาน ภายใน ลกพ. ถึง กกพ. (เสนอวาระเข้า กกพ. เพื่อทราบ ในฐานะผู้ กำกับดูแล) ไม่ต้องส่ง กรมบัญชีกลาง+กระทรวงการคลัง 3. แบบรายงานและการเสนอรายงาน (กรณีหน่วยงานที่จัดตั้งใหม่หรือปรับโครงสร้างองค์กรใหม่)
15
กรอบในการจัดทำและส่งรายงาน
คณะทำงานฯ จัดทำและส่ง ร่างรายงาน ของหน่วยงาน (ปค.3,4,5 (สำนักงาน) ฝ่ายงาน จัดทำและส่ง รายงานของ หน่วยงานย่อย (ปค.5 (ฝ่าย) ฝ่าย/เขต การประเมินผล การควบคุมภายใน หัวหน้า หน่วยงาน (เลขาธิการ) ฝ่าย ตรวจสอบ ภายใน การประเมิน อย่างเป็นอิสระ การสอบทานร่าง รายงานของหน่วยงาน ระดับสำนักงาน (ปค.3,4,5) จัดทำและส่ง รายงานสอบทาน การประเมินผล การควบคุมภายใน ของผู้ตรวจสอบภายใน (ปค.6)
16
หัวข้อบรรยาย 2. การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (ปค.5) ของฝ่ายงาน
18
Workshop และการอภิปรายกลุ่ม
19
ประเด็นที่ควรนำมาประเมินและปรับปรุงการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2562
ประเด็นที่ควรนำมาประเมินและปรับปรุงการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2562 จากคำแนะนำ/ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบต่อสำนักงาน กกพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จากปัจจัยความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงปานกลาง ตามความเห็นและมติของคณะทำงานการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง โครงการที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมายในปี 2561 เช่นได้ คะแนน 0 เป็นต้น จากการประเมินปัญหา อุปสรรคและความเสี่ยงที่ค้นพบจากการทำงานของฝ่ายงานเอง
20
ระดับผลกระทบ (Impact)
OERC Risk Profile (2562) O7. การดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล Digital โครงสร้างไม่พร้อมสนับสนุนการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นตามแผนปฎิรูปฯ การฟ้องร้อง ร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียในกรณีที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติหน้าที่ กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับล้าสมัย ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน 5 10 15 20 25 4 8 12 16 3 6 9 2 1 S3 O7 C1 กระบวนการปฏิบัติงานไม่ได้รับการทบทวนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง High แผนงานฯไม่รองรับกับความท้าทายใหม่ๆ C2 ข้อมูลที่จัดเก็บไม่เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกัน ทำให้ไม่สามารถใช้ฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม O6 O1 O3 O5 O2 กระบวนการในการจัดการข้อร้องเรียนยังไม่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของกลุ่มต่างๆ C3 การตีความและความเข้าใจที่แตกต่างกันของ กฎหมาย/ระเบียบ/ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องที่ ออกใหม่ Medium อัตรากำลังคนและทักษะไม่พร้อมรองรับยุทธศาสตร์และงานตามนโยบายที่เร่งด่วน ระดับโอกาส (Opportunity) O4 S1 S2 ระบบข้อมูล ไม่ได้รับการทบทวนและปรับเปลี่ยนข้อมูล ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ การเปลี่ยนแปลงของนโยบายใหม่เร่งด่วนที่ส่งผลต่อกลยุทธ์และแผนงานเดิม Low การกระจายยุทธศาสตร์ไปสู่แผนปฏิบัติงานไม่ครบถ้วน ระดับผลกระทบ (Impact)
21
ตัวอย่างการสรุปประเด็นปัญหาและอุปสรรคของงาน
ขาดการกำหนดสายการรายงานที่เหมาะสม และเพียงพอ ไม่มีระบบ Early Warning ในกรณีที่ผลการบริหารความเสี่ยงไม่บรรบุเป้าหมาย นโยบายผู้บริหาร องค์ประกอบของ ERM การมีส่วนร่วมในการบริหารความเสี่ยง ระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารความเสี่ยง การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กร ITG การระบุความเสี่ยงยังไม่ครบถ้วน และการกำหนดระดับความรุนแรงของความเสี่ยงยังไม่มีการใช้ฐานข้อมูลที่หมาะสม พนักงานไม่มีทักษะในเรื่องการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ ขาดการวิเคราะห์แผนบริหารความเสี่ยงทีครบถ้วนตาม Risk Map วัฒนธรรมองค์กรที่ยังขาดการสร้างความตระหนักเรื่องการบริหารความเสี่ยง ไม่มีคณะทำงานที่รับผิดชอบโดยตรงเรื่องบริหารความเสี่ยง พนักงานขาดการมีส่วนร่วมในการระบุปัจจัยเสี่ยง และกำหนดแผนบริหารความเสี่ยง ผู้บริหารระดับสูงมองข้ามความสำคัญของการบริหารความเสี่ยง ขาดการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการลงทุนด้าน IT กับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ขาดการจัดทำแผน BCM และฝึกซ้อมตามที่กำหนด ไม่ได้นำระบบการบริหารความเสี่ยงมาใช้ในการกำหนดนโยบาย/กำหนดกลยุทธ์/วางแผนการลงทุน ขาดการบริหารองค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ปัญหาในการพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงไม่ได้ผลตามเป้าหมาย ความเสี่ยงไม่ลดลง 21
22
ปัญหา /อุปสรรค 22
23
หลักการ: วิเคราะห์ความเสี่ยง
ความเสี่ยง ทำให้ เนื่องจาก ส่งผลให้ ระบุสาเหตุที่อาจ ก่อให้เกิดความเสี่ยง เป็นอุปสรรคต่อ เป้าหมายอย่างไร ส่งผลกระทบต่อ เป้าหมายอย่างไร เนื่องจาก (สาเหตุ 1) (สาเหตุ 2) ทำให้ (เกิดความเสี่ยง) ส่งผลให้ (องค์กรได้รับผลกระทบต่อเป้าประสงค์อย่างไร
24
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 1 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) ผลกระทบ ( ส่งผลให้ ) สาเหตุ RC_1.ยังไม่ได้มีการวิเคราะห์โครงสร้างองค์กรเพื่อรองรับภารกิจงาน OSS ตามแผนปฏิรูปฯ อย่างรอบด้าน ไม่สามารถดำเนินงานตามนโยบายและงานตามภารกิจหลักได้ภายในกรอบระยะเวลาที่กำหนด การนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ที่ไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมภายนอก S1. การเปลี่ยนแปลงของนโยบายใหม่เร่งด่วนไม่สอดคล้องกับกลยุทธ์และแผนงานเดิม RC_2.การกำหนดนโยบาย เป้าหมายและวิธีดำเนินงานจาก กพช. เป็นการตีกรอบเวลาการทำงาน ขาดอิสระในการกำกับฯ RC_3.แผนปฎิรูปฯ ที่เข้ามาส่งผลให้การดำเนินการตามแผนงานประจำปีของฝ่ายงานล่าช้า You can replace this text กิจกรรม/งานประจำปีที่วางแผนไว้ ไม่ได้ทำ ส่งผลต่อการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ RC_4.แผนปฏิรูปฯ และการกระจายงานให้กับ สข (เช่น การจัดตั้งศูนย์รับคำขอ) ยังไม่มีการเตรียมความพร้อม
25
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 2 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) ผลกระทบ ( ส่งผลให้ ) ไม่สามารถดำเนินงานตามนโยบายและงานตามภารกิจหลักได้ภายในกรอบระยะเวลาที่กำหนด สาเหตุ การนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ซึ่งแผนปฏิบัติการไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ RC_5.ภาคส่วนต่างๆ มีการตรวจสอบ และกดดันให้ กกพ. กำกับดูแลพลังงานตามต้องการของฝ่ายต่าง ๆ ที่แตกต่างมุมมองกัน อาจมีความยุ่งยากในการดำเนินการกำกับฯ ให้ตอบสนองทุกฝ่ายในเวลาเดียวกันได้ S2. การกระจายยุทธศาสตร์ไปสู่แผนปฏิบัติงานไม่ครบถ้วน You can replace this text การปฎิบัติงานไม่ชัดเจน ซ้ำซ้อน ไร้ทิศทาง การดำเนินงานไม่เป็นแบบบูรณาการ
26
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 6 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) ผลกระทบ ( ส่งผลให้ ) สาเหตุ RC_12.ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ไม่สนับสนุนกับลักษณะการดำเนินงาน / ไม่สนับสนุนการตัดสินใจ/ ข้อมูลยัง update ไม่สมบูรณ์ หรือขาดการจัดเก็บ MIS/ บางส่วนไม่เชื่อมโยงระหว่าง ส่วนกลางกับภูมิภาค ไม่สามารถก้าวสู่การเป็น Smart Office หรือไม่มีระบบ IT เพื่อการบริหาร (Management Information System) หรือ MIS ที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง O3. ข้อมูลที่จัดเก็บไม่เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกัน ทำให้ไม่สามารถใช้ฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม ความเสี่ยงด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ความเสี่ยงด้านกระบวนงาน/ระบบปฏิบัติ การ RC_13.ขาดความพร้อมสำหรับการดำเนินการในรูปแบบ OSS เช่น คน เงิน ระบบ IT RC_14.การปรับแก้ พ.ร.บ. เกี่ยวกับ รง.4 พค.2 อ.1 และการปรับแก้ กม.ลำดับรอง ม.50 ม.51 เพื่อให้รองรับกับ OSS You can replace this text
27
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 7 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) ผลกระทบ ( ส่งผลให้ ) สาเหตุ RC_15.ขาดระบบการติดตามงาน monitoring ของการบริหารที่เข้มแข็ง การปฎิบัติงานไม่ชัดเจน ซ้ำซ้อน ไร้ทิศทาง การดำเนินงานไม่เป็นแบบบูรณาการ O4. ระบบข้อมูล ไม่ได้รับการทบทวนและปรับเปลี่ยนข้อมูล ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ความเสี่ยงด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเสี่ยงcและด้านกระบวนงาน/ระบบปฏิบัติ การ ข้อมูลที่มีอาจไม่ถูกต้อง/ไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้ต้องเสียเวลาค้นหา/ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล RC_16.ฐานข้อมูลต่างๆ เพื่อให้สอดคล้อง/รองรับกับภาระงานใหม่ๆ ตามแผนปฏิรูปฯ ยังไม่มีความชัดเจน You can replace this text
28
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 8 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) ผลกระทบ ( ส่งผลให้ ) สาเหตุ RC_17.สังคมคัดค้านโรงไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดมลพิษ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการมีส่วนร่วม ขาดความน่าเชื่อถือ/การยอมรับจากผู้มีส่วนได้เสียในด้านการกำกับกิจการพลังงานของ กกพ .และ สำนักงาน กกพ. O5. การรับรู้ที่คลาดเคลื่อนและไม่เพียงพอของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเสี่ยงด้านกระบวนงาน/ระบบปฏิบัติ การ และชื่อเสียง RC_18.ผู้มีส่วนได้เสียเห็นว่า ยังไม่มีการประเมินความคุ้มค่าการกำกับติดตามและประเมินผลการกำกับฯ RC_19.บทบาทและภารกิจของ กกพ. และสำนักงานฯ ยังไม่เป็นที่รู้จักของประชาชน จึงไม่ให้ความสำคัญ เข้ามามีส่วนร่วม You can replace this text ภาพลักษณ์ของ กกพ. และ สำนักงาน กกพ. เสียหาย/ถูกบิดเบือน
29
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 13 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) ผลกระทบ ( ส่งผลให้ ) สาเหตุ เพิ่มงาน/ต้องปรับกระบวนการทำงานที่แตกต่างไปจากที่ระบุไว้ใน พ.ร.บ. + ระเบียบฯ ที่เกี่ยวข้อง RC_30. การตีความและความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 C3. การตีความและความเข้าใจที่แตกต่างกันของกฎหมาย/ระเบียบ/ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ความเสียง ในการดำเนินงานตามกฎหมายที่ออกใหม่ พ.ร.บ. วิธ๊ทางการปกครอง พ.ศ. 2539 You can replace this text ผู้บริหาร สำนักงาน กกพ.ถูกร้องเรียน
30
2.2 ประเมิน & จัดลำดับความเสี่ยง
31
วิธีปฏิบัติต่อความเสี่ยง
การประเมินความรุนแรงความเสี่ยง (Assesses Severity of Risk) มาตรการ ควบคุม มาตรการ ควบคุม มาตรการควบคุมและการบริหารความเสี่ยงที่มีคุณภาพ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการดำเนินกิจกรรมหรือภาระกิจ (Inherent Risk) ความเสี่ยง คงเหลือ (Residual Risk) แผนบริหาร ความเสี่ยง ระดับความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ Risk Appetite and Risk Tolerance
32
การประเมินความรุนแรงความเสี่ยง (Assesses Severity of Risk)
ความถี่ของการเกิดขึ้นในอดีต ปัจจัยเสี่ยง C1. C2. C3. F1. O1. O2. O3. O4. O5. O6. S1. S2. S3. โอกาสที่จะเกิดขึ้น ประเมิน ระดับ ของ ความเสี่ยง การคาดการณ์โอกาส ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ผลกระทบที่เป็นตัวเงิน ผลกระทบ ผลกระทบที่มิใช่ตัวเงิน มุมมองของ สาธารณชน ผลสำเร็จของ การดำเนินงาน
33
นิยาม เกณฑ์ในการประเมินโอกาสในการเกิดความเสี่ยง
ระดับคะแนน ต่ำมาก (1) ต่ำ (2) ปานกลาง (3) สูง (4) สูงมาก (5) โอกาสเกิดขึ้นน้อยมาก หรือไม่น่าจะเกิดขึ้น โอกาสเกิดขึ้นน้อยหรืออาจเกิดขึ้นได้ โอกาสเกิดขึ้นปานกลาง หรือเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้น โอกาสเกิดขึ้นสูง หรือเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นสูง โอกาสเกิดขึ้นสูงมาก หรือมีความแน่นอนที่จะเกิดขึ้น เป็นไปได้ทางทฤษฎีแต่ไม่น่าจะเกิดขึ้น อาจเกิดขึ้น 1 ครั้งทุกๆ 4-5 ปี /เคยเกิดขึ้นแล้วในช่วงเวลา 4-5 ปีที่ผ่านมา เคยเกิดขึ้นแล้วในช่วงเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมา อาจเกิดขึ้น 1 ครั้งทุกๆ 2-3 ปี /เคยเกิดขึ้นเมื่อปีที่แล้ว ปัจจุบันกำลังเกิดขึ้น / อาจเกิดขึ้นภายในปีนี้ ไม่น่าจะเกิดในปีนี้ หรือมีความน่าจะเป็นน้อยกว่าหรือเท่ากับ 20 % ความน่าจะเป็นมากกว่า % อาจเกิดขึ้นในปีนี้ โดยขึ้นอยู่กับปัจจัย หรือความน่าจะเป็นมากกว่า % อาจเกิดขึ้นในปีนี้ หรือมีความน่าจะเป็นมากกว่า % น่าจะเกิดขึ้นในปีนี้หรือ มีความน่าจะเป็นมากกว่า 80 % ขึ้นไป คาดว่าจะเกิดเหตุการณ์ในสถานการไม่ปกติ / โอกาสเกิดน้อยมาก < 5% ภายใน 12 เดือนข้างหน้า คาดว่าจะเกิดเหตุการณ์เกิดได้บางเวลา / โอกาสเกิดน้อย 5-25% ภายใน 12 เดือนข้างหน้า คาดว่าจะเกิดเหตุการณ์เกิดได้ / โอกาสเกิด 25-50% ภายใน 12 เดือนข้างหน้า คาดว่าจะเกิดเหตุการณ์ในสถานการส่วนใหญ่ / โอกาสเกิด 50-90% ภายใน 12 เดือนข้างหน้า คาดว่าจะเกิดเหตุการณ์สูงในทุกสถานการณ์ / โอกาสเกิด > 90% ภายใน 12 เดือนข้างหน้า คำนิยาม
34
นิยาม เกณฑ์ในการประเมินผลกระทบ
ระดับความรุนแรง ต่ำมาก (1) ต่ำ (2) ปานกลาง (3) สูง (4) สูงมาก (5) 1.ด้านเป้าหมายยุทธ์ Corp KPI = 5 (เป็นไปตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ขององค์กร) Corp KPI >= Corp KPI >= Corp KPI >= Corp KPI < 3.5 (ไม่เป็นไปตามเป้าฯ ไม่ justify การมีอยู่ขององค์กร) 2.ด้านภาพลักษณ์ มีข่าวเชิงลบ 1-3 วัน แต่แก้ไขได้ มีข่าวเชิงลบ 1-3 วัน และแก้ไขไม่ได้ มีพาดหัวข่าวเชิงลบ (หน้า1/หน้าหลัก) 1-5 วัน และแก้ไขไม่ได้ มีพาดหัวข่าวเชิงลบ (หน้า1/หน้าหลัก) 5-15 วัน และแก้ไขไม่ได้ มีพาดหัวข่าวเชิงลบ (หน้า1/หน้าหลัก) > 15 วัน และแก้ไขไม่ได้ 3.ด้านกฎ ระเบียบ ถูกร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียฯ ถูกร้องเรียนเรื่องเดิม/ซ้ำ/ไม่มีการแก้ไขควบคุมฯ ถูกฟ้องร้อง กล่าวหา ไม่ว่ากรณีใด ๆ คณะกรรมการฯ/ผู้บริหาร ร่วมกระทำผิดฯ ศาลพิพากษาให้มีความผิด 4. ด้านการปฏิบัติงาน กระบวนการเคลื่อนที่ตามปกติ มีการชะงักงันของกระบวนการ/มีการร้องเรียนผ่าน Call Centre เล็กน้อย มีผลกระทบต่อกระบวนการปานกลาง/มีการร้องเรียนอย่างเป็นทางการ มีผลกระทบฯ รุนแรงต่อแผนงาน/มีการแสดงความคิดเห็นเชิงลบ/ไม่พอใจผ่านสื่อกว้างขวาง มีการหยุดการดำเนินงาน/ถอยหลังปรับปรุง / เกิดการต่อต้านรุนแรงจากสาธารณะทุกช่องทางฯ
35
รายละเอียดเกณฑ์การประเมิน ตามเอกสารประกอบหมายเลข 2
นิยาม เกณฑ์ในการประเมินผลกระทบ (ต่อ) ผลกระทบ ระดับความรุนแรง ต่ำมาก (1) ต่ำ (2) ปานกลาง (3) สูง (4) สูงมาก (5) 5.ด้านผู้มีส่วนได้เสีย Gap ระหว่างความคาดหวัง และ ความพอใจ < 0.85 Gap ระหว่างความคาดหวัง และ ความพอใจ Gap ระหว่างความคาดหวัง และ ความพอใจ Gap ระหว่างความคาดหวัง และ ความพอใจ = 1 Gap ระหว่างความคาดหวัง และ ความพอใจ > 1 6.ด้านบุคลากร Employee Engagement Score =5 Employee Engagement Score =4 Employee Engagement Score =3 Employee Engagement Score =2 Employee Engagement Score =1 7.ด้านการเงิน ไม่มีผลกระทบสภาพคล่องฯ ในปัจจุบัน/เบิกจ่าย > 90% มีผลกระทบฯ บ้างในบางสายงาน แต่ไม่รุนแรง/เบิกจ่าย 85-89% มีผลกระทบฯ ในวงกว้างขึ้น แต่ไม่รุนแรง/เบิกจ่าย 80-84% กระแสเงินสดติดลบ แนวโน้มรายได้ไม่พอ กระทบต่อการดำเนินงานยุทธ์/เบิกจ่าย 75-79% รายได้/สภาพคล่องขาดติดต่อกันหลายเดือน กระทบการดำเนินงานรุนแรงทั้งองค์กร/เบิกจ่าย <75% รายละเอียดเกณฑ์การประเมิน ตามเอกสารประกอบหมายเลข 2
36
สัญลักษณ์ระดับความเสี่ยง
การประเมินค่าระดับความเสี่ยง ระดับความเสี่ยง ค่าช่วงคะแนน สัญลักษณ์ระดับความเสี่ยง ระดับความเสี่ยงต่ำ (Low: L) = 1 - 4 L ระดับความเสี่ยงปานกลาง (Medium: M) 5 - 12 M ระดับความเสี่ยงสูง (High: H) H
37
เกณฑ์สำหรับ OERC Risk Profile
โอกาส ผลประทบ 1 2 3 4 5 กลาง สูง ต่ำ ระดับความเสี่ยง ค่าช่วงคะแนน สัญลักษณ์ระดับความเสี่ยง ระดับความเสี่ยงต่ำ (Low: L) = 1 - 4 L ระดับความเสี่ยงปานกลาง (Medium: M) 5 - 12 M ระดับความเสี่ยงสูง (High: H) H
38
ระดับผลกระทบ (Impact)
OERC Risk Profile (2562) O7. การดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล Digital โครงสร้างไม่พร้อมสนับสนุนการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นตามแผนปฎิรูปฯ การฟ้องร้อง ร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียในกรณีที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติหน้าที่ กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับล้าสมัย ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน 5 10 15 20 25 4 8 12 16 3 6 9 2 1 S3 O7 C1 กระบวนการปฏิบัติงานไม่ได้รับการทบทวนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง High แผนงานฯไม่รองรับกับความท้าทายใหม่ๆ C2 ข้อมูลที่จัดเก็บไม่เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกัน ทำให้ไม่สามารถใช้ฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม O6 O1 O3 O5 O2 กระบวนการในการจัดการข้อร้องเรียนยังไม่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของกลุ่มต่างๆ C3 การตีความและความเข้าใจที่แตกต่างกันของ กฎหมาย/ระเบียบ/ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องที่ ออกใหม่ Medium อัตรากำลังคนและทักษะไม่พร้อมรองรับยุทธศาสตร์และงานตามนโยบายที่เร่งด่วน ระดับโอกาส (Opportunity) O4 S1 S2 ระบบข้อมูล ไม่ได้รับการทบทวนและปรับเปลี่ยนข้อมูล ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ การเปลี่ยนแปลงของนโยบายใหม่เร่งด่วนที่ส่งผลต่อกลยุทธ์และแผนงานเดิม Low การกระจายยุทธศาสตร์ไปสู่แผนปฏิบัติงานไม่ครบถ้วน O7. การดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล Digital ระดับผลกระทบ (Impact) หมายเหตุ : รายละเอียดตามเอกสารส่วนที่ 1 การประเมินระดับความรุนแรงของความเสี่ยง (Risk Assessment)
39
จัดลำดับความเสี่ยง (ข้อเสนอ)
ระดับความเสี่ยง ค่าคะแนนความเสี่ยง ปัจจัยความเสี่ยง 1 สูง 20 C1. การฟ้องร้อง ร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียในกรณีที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติหน้าที่ C2. กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับล้าสมัย ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน F1. การบริหารงบประมาณและการเงินไม่เหมาะสม O1. กระบวนการปฏิบัติงานไม่ได้รับการทบทวนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง O2. อัตรากำลังคนและทักษะไม่พร้อมรองรับยุทธศาสตร์และงานตามนโยบายที่เร่งด่วน 2 16 O6. กระบวนการในการจัดการข้อร้องเรียนยังไม่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของกลุ่มต่างๆ O7. การดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล Digital 3 15 S3. โครงสร้างไม่พร้อมสนับสนุนการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นตามแผนปฎิรูปฯ 4 กลาง 12 C3. การตีความและความเข้าใจที่แตกต่างกันของกฎหมาย/ระเบียบ/ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องที่ออกใหม่ O3. ข้อมูลที่จัดเก็บไม่เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกัน ทำให้ไม่สามารถใช้ฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม O4. ระบบข้อมูล ไม่ได้รับการทบทวนและปรับเปลี่ยนข้อมูล ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ O5. การรับรู้ที่คลาดเคลื่อนและไม่เพียงพอของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 5 9 S1. การเปลี่ยนแปลงของนโยบายใหม่เร่งด่วนที่ส่งผลต่อกลยุทธ์และแผนงานเดิม S2. การกระจายยุทธศาสตร์ไปสู่แผนปฏิบัติงานไม่ครบถ้วน
40
เราจะบริหารความเสี่ยงได้อย่างไร เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด
การลดความเสี่ยง หมายถึง การวิเคราะห์หาวิธีการควบคุมความเสี่ยงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ลดโอกาสความน่าจะเกิด ลดความเสียหาย ป้องกันการเกิดความเสียหาย กำหนดแผนการจัดการ เพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ (หลีกเลี่ยง/ลด/ ยอมรับ/ถ่ายโอน) โดย จัดระบบการควบคุมเพื่อป้องกัน แก้ไขกระบวนการปฏิบัติงาน กำหนดแผนสำรองในเหตุฉุกเฉิน เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด
41
ข้อเสนอแผนจัดการความเสี่ยง/มาตรการลดความเสี่ยง
42
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 1 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) ข้อเสนอแผนจัดการความเสี่ยง สาเหตุ RC_1.ยังไม่ได้มีการวิเคราะห์โครงสร้างองค์กรเพื่อรองรับภารกิจงาน OSS ตามแผนปฏิรูปฯ อย่างรอบด้าน แผนเร่งรัดการปรับโครงสร้างฯ และอัตรากำลัง (แผนต่อเนื่อง ปี 61) การนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ที่ไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมภายนอก S1. การเปลี่ยนแปลงของนโยบายใหม่เร่งด่วนที่ส่งผลต่อกลยุทธ์และแผนงานเดิม RC_2.การกำหนดนโยบาย เป้าหมายและวิธีดำเนินงานจาก กพช. เป็นการตีกรอบเวลาการทำงาน ขาดอิสระในการกำกับฯ แผนเร่งปรับปรุงพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ และกฎหมายลำดับรอง RC_3.แผนปฎิรูปฯ ที่เข้ามาส่งผลให้การดำเนินการตามแผนงานประจำปีของฝ่ายงานล่าช้า You can replace this text การเตรียมความพร้อมของ สำนักงาน กกพ. /สำนักงาน กกพ. ประจำเขต ในด้านบุคลากร ความรู้ ความสามารถ ในด้านการตรวจสอบ การกำกับดูแลโรงไฟฟ้า /การจัดการปัญหาเรื่องร้องเรียนคัดค้านให้เบ็ดเสร็จ RC_4.แผนปฏิรูปฯ และการกระจายงานให้กับ สข (เช่น การจัดตั้งศูนย์รับคำขอ) ยังไม่มีการเตรียมความพร้อม
43
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 2 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) สาเหตุ ข้อเสนอแผนจัดการความเสี่ยง การนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ซึ่งแผนปฏิบัติการไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ RC_5.ภาคส่วนต่างๆ มีการตรวจสอบ และกดดันให้ กกพ. กำกับดูแลพลังงานตามต้องการของฝ่ายต่าง ๆ ที่แตกต่างมุมมองกัน อาจมีความยุ่งยากในการดำเนินการกำกับฯ ให้ตอบสนองทุกฝ่ายในเวลาเดียวกันได้ S2. การกระจายยุทธศาสตร์ไปสู่แผนปฏิบัติงานไม่ครบถ้วน แผนการสื่อสารภายในสำหรับการถ่ายทอดเป้าหมายและความท้าทายใหม่ๆเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน You can replace this text
44
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 6 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) สาเหตุ RC_12.ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ไม่สนับสนุนกับลักษณะการดำเนินงาน / ไม่สนับสนุนการตัดสินใจ/ ข้อมูลยัง update ไม่สมบูรณ์ หรือขาดการจัดเก็บ MIS/ บางส่วนไม่เชื่อมโยงระหว่าง ส่วนกลางกับภูมิภาค O3. ข้อมูลที่จัดเก็บไม่เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกัน ทำให้ไม่สามารถใช้ฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม ความเสี่ยงด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ความเสี่ยงด้านกระบวนงาน/ระบบปฏิบัติ การ แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (แผนต่อเนื่องปี 61) RC_13.ขาดความพร้อมสำหรับการดำเนินการในรูปแบบ OSS เช่น คน เงิน ระบบ IT RC_14.การปรับแก้ พ.ร.บ. เกี่ยวกับ รง.4 พค.2 อ.1 และการปรับแก้ กม.ลำดับรอง ม.50 ม.51 เพื่อให้รองรับกับ OSS You can replace this text เร่งปรับปรุงพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ และกฎหมายลำดับรอง
45
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 7 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) สาเหตุ RC_15.ขาดระบบการติดตามงาน monitoring ของการบริหารที่เข้มแข็ง แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ O4. ระบบข้อมูล ไม่ได้รับการทบทวนและปรับเปลี่ยนข้อมูล ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ความเสี่ยงด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเสี่ยงcและด้านกระบวนงาน/ระบบปฏิบัติ การ RC_16.ฐานข้อมูลต่างๆ เพื่อให้สอดคล้อง/รองรับกับภาระงานใหม่ๆ ตามแผนปฏิรูปฯ ยังไม่มีความชัดเจน You can replace this text แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (แผนต่อเนื่องปี 61)
46
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 8 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) สาเหตุ RC_17.สังคมคัดค้านโรงไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดมลพิษ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการมีส่วนร่วม O5. การรับรู้ที่คลาดเคลื่อน และไม่เพียงพอของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเสี่ยงด้านกระบวนงาน/ระบบปฏิบัติ การ และชื่อเสียง แผนการดำเนินโครงการส่งเสริมภาพลักษณ์และพัฒนาการสื่อสารงานกำกับ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (อยู่ในแผนดำเนินงานปี 62) RC_18.ผู้มีส่วนได้เสียเห็นว่า ยังไม่มีการประเมินความคุ้มค่าการกำกับติดตามและประเมินผลการกำกับฯ RC_19.บทบาทและภารกิจของ กกพ. และสำนักงานฯ ยังไม่เป็นที่รู้จักของประชาชน จึงไม่ให้ความสำคัญ เข้ามามีส่วนร่วม You can replace this text
47
สำนักงาน กกพ.ของเราเผชิญอยู่กับเหตุการณ์ความเสี่ยง (Risk) อะไร
ปัจจัยเสี่ยง 13 ( เนื่องจาก ) ลักษณะความเสี่ยง ( ทำให้ ) สาเหตุ C3. การตีความและความเข้าใจที่แตกต่างกันของกฎหมาย/ระเบียบ/ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง RC_30. การตีความและความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ความเสียง ในการดำเนินงานตามกฎหมายที่ออกใหม่ แผนการวิเคราะห์ผลกระทบที่ได้รับการ พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลัง/แผนปฎิการ (Action Plan) You can replace this text พ.ร.บ. วิธ๊ทางการปกครอง พ.ศ. 2539 แผนการวิเคราะห์ผลกระทบที่ได้รับการ พ.ร.บ. วิธ๊ทางการปกครอง พ.ศ. 2539 และการสร้างความรู้ความเข้าใจ
48
Q & A ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.