ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
การบูรณาการกลุ่มวัย กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
2
กลุ่มสตรีและเด็ก
3
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ สตรีและเด็ก ๐-๕ ปี
ฟันผุ ๐-๓ ปี(๕๗% ) เด็กขวบครึ่ง-๒ ขวบ มีฟันผุ ๑๔.๗% เสี่ยงฟันผุ ๑๖.๗% ฟันไม่ผุ ๖๘.๓% สำรวจพฤติกรรมของเด็กอายุ ๑๘-๒๔ เดือน -บริโภคนมหวาน ร้อยละ ๓๗.๕ -บริโภคเครื่องดื่มรสหวานที่ไม่ใช่นม ร้อยละ ๔๙ -ใช้ขวดนม ร้อยละ ๘๒ -กินขนมระหว่างมื้อร้อยละ ๘๑.๘ -แปรงฟันเช้า-เย็น ร้อยละ ๓๙.๙ -ไม่ได้แปรงฟันเลย ร้อยละ ๑๑.๑ ๑.บูรณาการกับกลุ่มงานเวชในกระบวนการดูแลงานคลินิกเด็กดีWCC ๒.การทำงานเชิงรุกFamily care Team
4
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ สตรีและเด็ก ๐-๕ ปี พัฒนาการสมวัย(๙๙.๘) -ระบบการประเมินพัฒนาการเด็กยังไม่ครอบคลุมทุกช่วงวัยและขาดทักษะในการค้นหาและแก้ไขปัญหาเด็กพัฒนาการล่าช้า ระบบการคัดกรองมีการเปลี่ยนแปลงช่วงอายุในการจัดเก็บข้อมูล และเครื่องมือในการประเมินพัฒนาการ ใช้ DSPM ( อนามัย๕๕ TDSI , Denver II ) ๑.สำรวจกลุ่มเป้าหมายเด็ก ๐-๕ ปี ทั้งหมดและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ๙,๑๘,๓๐,๔๒ เดือน ในพื้นที่ที่มีอยู่จริง ๒.ประเมินพัฒนาการเด็กในWCC, ในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล , ในชุมชน ด้วยแบบDSPMให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ๔.จัดหาเครื่องมือตรวจพัฒนาการเด็กในWCCครบทุกแห่ง(ชุดละ 2,000บาท)
5
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ สตรีและเด็ก ๐-๕ ปี โรคติดต่อในเด็ก โรคปอดบวม โรคไข้หวัดใหญ่ โรคอุจารระร่วง มือเท้าปาก เด็กอยู่ในศูนย์เด็กมีโอกาสแพร่ระบาดของโรคติดต่อได้ ๑.มีการตกลงร่วมกันของผู้ปกครองว่าถ้ามีเด็กป่วยไม่ต้องให้เด็กมา ๒.ควรมีการคัดกรองสุขภาพเด็กทุกเช้าเพื่อรีบคัดแยกเด็กป่วย ๓.แนะให้ให้ครูใช้ACL-gel หลังจากสัมผัสเด็ก ๔.ขอรับสนับสนุนงบประมาณขอวัสดุ/อุปกรณ์ควบคุมโรค
6
กลุ่มวัยเรียน
7
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ วัยเรียน (๕-๑๔ ปี) เริ่มอ้วน และอ้วน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ไม่เกินร้อยละ๑๐) -พฤติกรรมการบริโภคอาหารนอกบ้าน -ไม่สามารถควบคุมการจำหน่ายอาหาร ร้านค้าหน้าโรงเรียนและรอบๆโรงเรียน -เด็กขาดพฤติกรรมการออกกำลังกาย(นั่งเล่นเกมส์ เล่นไลน์) ๑.ให้หน่วยงานสาธารณสุขประชุมครูแนะแนว/ครูอนามัยโรงเรียน เพื่อให้ครูไปชี้แจงผู้ปกครองในวันปฐมนิเทศ ๒.มีการจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาเด็กมีภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน และติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ๓.ดำเนินการชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงและคีย์ข้อมูลตามระยะเวลาที่กำหนด ปีละ ๒ ครั้ง ภาคเรียนที่ ๑(พค.,-กค.) ภาคเรียนที่ ๒ (ตค.-ธค)
8
เด็กนักเรียน (อายุ 5-14 ปี) มีภาวะอ้วน โซสิงห์เหนือ
เด็กนักเรียน (อายุ 5-14 ปี) มีภาวะอ้วน โซสิงห์เหนือ ร้อยละ ฐานข้อมูล Data center สสจ.อยุธยา เทอม 2/2556 (ต.ค. – พ.ย.) เทอม 1/2557 (พ.ค. – ก.ค.) เทอม 2/2557 (ต.ค. – ธค.)
9
กลุ่มวัยรุ่น
10
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ วัยรุ่น (๑๕-๑๙) อัตราการคลอดมีชีพของหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปี มีแนวโน้มสูงขึ้น(๕๐ต่อพันประชากร) -การขับเคลื่อนงานอำเภออนามัยเจริญพันธุ์ –การดำเนินงานเรื่องเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน โดยบูรณาการ องค์กรในพื้นที่ มีทั้งสถานศึกษา สถานบริการ (รพ.,รพสต.)อปท. ชุมชน เป้าหมาย-อำเภอผ่านเกณฑ์อนามัยเจริญพันธุ์ทุกอำเภอ ผลลัพธ์-การคลอดในวัยรุ่นและเยาวชนลดลง -ให้ดำเนินการอำเภออนามัยเจริญพันธุ์ให้ผ่านเกณฑ์ ๔ อำเภอ ปี๒๕๕๘ -สิงเหนือ .ท่าเรือ,บ้านแพรก,ภาชี บางปะหัน -อำเภอผ่านเกณฑ์แล้ว อำเภอมหาราช, นครหลวง -ขอให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
11
ที่มา:ข้อมูลจาก 43 แฟ้มของ สสจ.พระนครศรีอยุธยา
12
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ วัยรุ่น ยาเสพติด สถานการณ์การเข้ารับการบำบัดรักษาทุกระบบ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี ๒๕๕๗ ที่ผ่านมาพบช่วงอายุผู้เข้ารับการบำบัด อายุ ๑๕-๒๔ ปีรับการบำบัดร้อยละ๓๔.๒ -เพื่อหนีความทุกข์ใจ เด็กวัยรุ่นที่มีปัญหาในครอบครัว ขาดความรัก ความอบอุ่น ครอบครัวแตกแยก หรือทะเลาะเบาะแว้งกันเป็นประจำ -ความอยากรู้อยากลอง เสพตามเพื่อน -อยู่ในสภาพแวดล้อมคนติดยาหรือเป็นแหล่งขาย -ถูกหลอกลวงให้ติดยาซึ่งจะพบว่าเขตอำเภอใหญ่ๆหรือชุมชนใหญ่ๆ เศรษฐกิจจะดี จำนวนคนอาศัยมากจะมีผู้เข้ารับการบำบัดมากกว่าเขตชนบท -ป้องกันโดยใช้กิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียน,ชุมชน -มีจำนวนสมาชิก TO BE NUMBER ONE ๘๐% - จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น หรือ Friend Corner ในโรงเรียน
13
กลุ่มวัยทำงาน
14
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ วัยทำงาน (๑๕-๕๙ ปี) โรคเรื้อรัง -อัตรารายใหม่สูงขึ้น -อัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือดสูงขึ้น -อัตราการควบคุมน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตได้ดียังต่ำ -โรคอ้วน อายุ๑๕ ปีขึ้นไป รอบเอวเกินร้อยละ๔๐ -การใช้กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้เครื่องมือต่างๆยังไม่ประสบผลสำเร็จ DPAC, ๓อ.๒ส ๑.สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนเพื่อให้สามารถจัดการสุขภาพของตนเองและคนในชุมชนได้ชุมชนมีมาตรการทางสังคม ๒.ปรับบทบาทเจ้าหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนให้ชุมชนดำเนินการเอง ๓.จัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลสุขภาพ(ลานกีฬา,ร้านอาหารในชุมชน,ปลูกผักกินเอง)
15
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ วัยทำงาน ยาเสพติด สถานการณ์การเข้ารับการบำบัดรักษาทุกระบบ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี ๒๕๕๗ ที่ผ่านมาพบช่วงอายุผู้เข้ารับการบำบัดมากที่สุด ๒๕-๕๙ ปี ร้อยละ ๖๘.๘๒ -ปัญหาด้านพฤติกรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านความรัก ครอบครัว ด้านอาชีพ(ทั้งมีงานทำและไม่มีงานทำ) -การบำบัดรักษายาเสพติด ๑.วิเคราะห์ข้อมูล จำนวนประชากรที่รับผิดชอบ จำนวนผู้เสพในพื้นที่ รวมทั้งการติดตามระหว่างบำบัดและภายหลังการบำบัดในการวางแผนการดำเนินงาน(ดำเนินการภายในคปสอ. จนท.รพ. สสอ.รพสต.และอสม.) ๒.การดำเนินเกณฑ์การประเมินและรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด(HAยาเสพติด) ผ่านHAแล้ว-ท่าเรือ,ภาชี
16
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ วัยทำงาน การป้องกันยาเสพติด -การวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนผู้เสพ/ผู้ติดในพื้นที่ ชี้เป้า กำหนดเป้าหมาย เพื่อหาทางในการป้องกันโดยการเสริมกิจกรรมต่างๆตามบริบทในพื้นที่โดยดำเนินการร่วมกับหน่วยงานอื่นเช่นอปท.,ผู้นำชุมชน, -กิจกรรมTO BE NUMBER ONE ในชุมชน,สถานประกอบการ -โครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน
17
กลุ่มวัยสูงอายุ
18
กลุ่มวัย ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อเสนอแนะ ผู้สูงอายุและผู้พิการ ๑.การบูรณาการคัดกรองผู้สูงอายุ(ร้อยละ ๖๐ ) และการแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบอย่างเป็นระบบ ๑.ผู้สูงอายุมีจำนวนมาก ๒.จำนวนกิจกรรมการคัดกรองมีจำนวนมาก ( ๑๐ ด้าน) ๓.ทักษะในการคัดกรองของ อสม.ไม่เพียงพอ จึงต้องให้เวลาในการคัดกรอง แต่ควรแล้วเสร็จภายในเดือนพฤษภาคม ๑.เพิ่มเติมทักษะในการคัดกรองให้กับ อสม.ก่อนออกคัดกรอง ผู้สูงอายุ ๒.การสนับสนุนอุปกรณ์/เอกสารในการเก็บข้อมูลโดย CUP ๓.ส่งเสริมกิจกรมผู้สูงอายุระยะยาว(LTC) ให้ครอบคลุมเพิ่มขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.