ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Product champion: สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก
นำเสนอโดย นางสาวอุษา วงทวี นักวิชาการสาธารณสุข สำนักส่งเสริมสุขภาพ
2
วัตถุประสงค์ของสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก
1.ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ บุคคลในครอบครัว ใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กในการเฝ้าระวังสุขภาพของตนเอง 2.เพื่อเป็นเครื่องมือของหญิงตั้งครรภ์ บุคคลใน ครอบครัว ใช้ศึกษาหาความรู้ในการปฏิบัติตัว เพื่อให้เกิดการมีสุขภาพดีและเกิดความตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพของตนเอง
3
ลักษณะสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก
จำนวนพิมพ์ 1,000,000 เล่ม ระบบพิมพ์ ขนาด เอ 5 จำนวน หน้า ไม่รวมปก เนื้อหา มี 3 ส่วน ส่วนที่ 1 บริการหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว ส่วนที่ 2 บริการเด็กแรกเกิด-6 ปี ส่วนที่ 3 ความรู้สู่การปฏิบัติเพื่อแม่-ลูกสุขภาพดี ดี เก่ง สุข (ประสานกรมสุขภาพจิต)
4
วัตถุประสงค์ของโครงการฯ Product champion
เพื่อประเมินความคิดเห็นผู้ใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ด้านเนื้อหา รูปแบบ การบริหารจัดการ และการนำไปขยายผล
5
ระเบียบวิธีวิจัย กลุ่มตัวอย่าง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
3.2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ 1 คือ บุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุข โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ดังนี้ 1) กลุ่ม Provider คือ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ และผู้รับผิดชอบงานด้านแม่และเด็ก เขตละ 3 ราย ) กลุ่ม End User คือ บุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุข ทำงานในสถานบริการสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายและมีประสบการณ์ใช้หรือจดบันทึกลงสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก อย่างน้อย 3 ปี เขตละ 60 ราย (อารีวรรณ ตันติเศรษฐ) รวม 720 ราย
6
ระเบียบวิธีวิจัย 3.2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ 2 คือแม่ของเด็กหรือผู้เลี้ยงดูเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เก็บข้อมูล ณ จุดเวลา (ภาคตัดขวาง: Cross-Sectional Studies) การคำนวณขนาดตัวอย่าง โดยใช้สูตรKrejcie & Morgan, 1970 จากการคำนวณได้จำนวนตัวอย่างเขตบริการสุขภาพ ละ 384 ราย ซึ่งผู้วิจัยจะเก็บข้อมูลเขตละ 400 ราย ดังนี้ N = จำนวนเด็กช่วงอายุแรกเกิด จนถึง 5 ปี แต่ละเขตบริการสุขภาพ กำหนดขนาดตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (k = 1.96) ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ไม่เกิน 10% (E’≤0.10) , P = 0.5 Q = 1-P
7
ตารางกลุ่มตัวอย่างแต่ละเขต
เขตบริการสุขภาพ provider End User รวม บุคลากรสาธารณสุข แม่ของเด็กและผู้เลี้ยงดู สสจ. ศอ. จนท.ใช้สมุด 1 2 60 400 463 3 4 5 6
8
ตารางกลุ่มตัวอย่างแต่ละเขต (ต่อ)
เขตบริการสุขภาพ provider End User รวม บุคลากรสาธารณสุข แม่ของเด็กและผู้เลี้ยงดู สสจ. ศอ. จนท.ใช้สมุด 7 2 1 60 400 463 8 9 10 11 12 รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งประเทศ 5,556
9
เครื่องมือที่ใช้วิจัยและเอกสารประกอบการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถาม ได้แก่ แบบประเมินสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (MCB 1:Provider) แบบประเมินสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (MCB 2:End User) เอกสารประกอบการวิจัย ได้แก่ 1. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย (Pdf.) คู่มือการใช้แบบประเมินสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (Pdf.) คู่มือการลงรหัส SPSS (Pdf.) เอกสารลงรหัส SPSS (Excel) ไฟล์ SPSS เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล
10
MCB 1: Provider MCB 2: End User
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.