ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJonathan Heath ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
นางสาวนิลนภา คำพิลา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
2
วัตถุประสงค์ เป็นข้อแนะนำทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการให้การป้องกันการติดเชื้อหลังสัมผัสเลือด หรือของเหลวจากร่างกาย กรณีบุคลากรเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติหน้าที่ เป็นมาตรการสำคัญในการลดโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อจาก การสัมผัสฯ ระบบการรายงานอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน
3
ทะเบียนบุคลากรที่สัมผัสเลือด/ สารคัดหลั่ง/เข็มทิ่มตำ
ปีงบประมาณ หน่วยงานที่สัมผัสสารคัดหลั่ง การรักษา/ การรับยา โรงพยาบาล รพ.สต 2558 4 1 5 2559 2 - 2560
5
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV ของบุคลากรผู้สัมผัส เลือดหรือของเหลวของต้นตอแหล่งสัมผัส
6
การประเมินต้นตอแหล่งสัมผัส ( source assessment )
***** กรณีรู้ต้นตอแหล่งสัมผัส : ประเมินผู้เป็นต้นตอแหล่งสัมผัสว่าติดเชื้อ HIVหรือไม่โดยดูจากผลเลือด (anti-HIV) ของผู้เป็นต้นตอ ****** กรณีผู้เป็นต้นตอแหล่งสัมผัสไม่ยินยอมให้ตรวจเลือด : ให้ปฏิบัติเสมือนผู้เป็นต้นตอติดเชื้อ HIV
7
***** กรณีผู้เป็นต้นตอแหล่งสัมผัส ยินยอมให้ตรวจเลือด : ตัวอย่างเลือดเป็นลบ แต่ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงพบว่าเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV มาก ให้ถือว่าผู้เป็นต้นตออาจติดเชื้อ HIV (อาจอยู่ในช่วง window period)
8
ให้ถือว่าเลือดและของเหลว
กรณีที่ไม่รู้ต้นตอแหล่งสัมผัส : ให้ถือว่าเลือดและของเหลว ติดเชื้อ HIV
9
โรคติดเชื้อที่ติดต่อได้จากอุบัติเหตุทางการแพทย์
โรคติดเชื้อ เอช ไอ วี (HIV) ตับอักเสบบี (Hepatitis B) ตับอักเสบซี (Hepatitis C)
10
รูปแบบที่ทำให้เกิดความเสี่ยง
1.อุปกรณ์ที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุเปื้อนเลือด 2.ของมีคมทิ่มตำ/บาดผ่านเส้นเลือด 3.เข็มเป็นรูกลวงเสี่ยงมากกว่าเข็มตัน 4.ขนาดแผลลึก/กว้าง 5.ความเข้มข้นของเชื้อในเลือด
11
แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากของแหลมคมทิ่มตำ
*** ฉีดยาและการเจาะเลือด สวมถุงมือทุกครั้ง *** ห้ามสวมปลอกเข็มโดยใช้มือจับปลอกเข็ม *** การจัดการเข็มที่ใช้แล้ว การปลดออกทันที ด้วยวิธีที่ปลอดภัย *** การเย็บแผล ใช้คีมจับเข็ม ขณะพักเข็มแล้วคว่ำไว้ในถาด ไม่ควรใช้นิ้วมือกดแผลแล้วเย็บ *** ของมีคมอื่นๆ เช่นใบมีด กรรไกร ถอดใบมีดออกจากด้าม โดยใช้คีมจับ (Clamp)ดึงมีดออก *** ห้ามส่งของมีคมจากมือคนหนึ่งไปสู่มืออีกคนหนึ่ง ห้ามหงายส่วนแหลมคมขึ้น/ยื่นออกนอกภาชนะ *** หลอดยา Ampule หักหลอดยา โดยใช้ผ้าสะอาด/สำลีรอง ทิ้งหลอดยาลงในภาชนะที่ไม่สามารถแทงทะลุผ่าน *** หลอด Hematocrit tube ทำความสะอาดเครื่องปั่นที่เปื้อนคราบเลือด *** การเก็บและรวบรวม Specimen ส่งตรวจ สวมถุงมือทุกครั้งที่สัมผัสสิ่งส่งตรวจ บรรจุสิ่งในภาชนะที่ปิดฝามิดชิด
12
การใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย
13
ตัวอย่างแบบบันทึก/รายงานสำหรับบุคลากร กรณีเกิดอุบัติเหตุถูกเข็ม ของมีคมทิ่มตำ/บาด หรือสัมผัสเลือด/ของเหลวของผู้ป่วยขณะปฏิบัติหน้าที่
18
สวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.