งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้พื้นฐานด้านระบาดวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้พื้นฐานด้านระบาดวิทยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้พื้นฐานด้านระบาดวิทยา
รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช LL.B., M.D., Ph.D. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200

2 “การศึกษาการกระจายและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคในมนุษย์”
ความหมาย “การศึกษาการกระจายและปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคในมนุษย์”

3 ประเภทของการศึกษาทางระบาดวิทยา
การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษาเชิงวิเคราะห์ การศึกษาเชิงทดลอง

4 มักนำไปสู่การหาข้อสมมติฐาน
การศึกษาเชิงพรรณนา เป็นการพรรณนาข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวเพื่อหาลักษณะร่วมในแง่ บุคคล เวลา และสถานที่ มักนำไปสู่การหาข้อสมมติฐาน AIDS และ HIV Diethylstilbestrol และ vaginal clear cell adenocarcinoma ในปีค.ศ. 1940 CA cervix และ Human papillomavirus, Harald zur Hausen

5

6 Ecological Study: เปรียบเทียบหลายกลุ่ม
ความกระด้าง (mmol/l) จำนวนเมือง (แห่ง) อัตราตาย (Mean SMR) Source: Pocock SJ, et al. Brit Med J 1980,280:1243

7 การศึกษาภาคตัดขวาง การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษาจากเอกสาร การสำรวจ
การสำรวจความคิดเห็น การสำรวจในสถานที่ทำงาน การสำรวจในชุมชน

8 การศึกษาระยะยาว การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษารายโรค
การศึกษาแนวโน้มของโรค การศึกษาพัฒนาการการเกิดโรค การเฝ้าระวังโรค

9 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาเชิงพรรณนา
บุคคล อายุ เพศ เชื้อชาติ อาชีพ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม สถานภาพสมรส

10 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาเชิงพรรณนา (ต่อ)
สถานที่ การเปรียบเทียบระหว่างประเทศ การเปรียบเทียบระหว่างชนบทและเขตเมือง เขตแบ่งพื้นที่ตามธรรมชาติ โรคประจำถิ่น

11 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาเชิงพรรณนา (ต่อ)
เวลา การเปลี่ยนแปลงที่ใช้เวลานาน การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลหรือปีปฏิทิน การเปลี่ยนแปลงในชั่วระยะเวลาสั้นๆ

12 การศึกษาเชิงวิเคราะห์
การศึกษาไปข้างหลัง การศึกษาภาคตัดขวาง การศึกษาไปข้างหน้า

13 การศึกษาไปข้างหลัง เริ่มต้นด้วยกลุ่มที่เป็นโรคและไม่เป็นโรค
ทั้งสองกลุ่มจะต้องมีลักษณะที่คล้ายกันมากที่สุด ยกเว้น ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องการหาความสัมพันธ์ ทำการซักประวัติหรือหาข้อมูลย้อนหลังเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่สนใจ

14 การศึกษาไปข้างหลัง (ต่อ)
ปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเป็นโรค กลุ่มควบคุม มี A B ไม่มี C D รวม A+C B+D

15 การศึกษาภาคตัดขวาง เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงและการเป็นโรคในเวลาเดียวกัน ข้อดีคือศึกษาได้เร็ว แต่ข้อเสียคือไม่สามารถควบคุมตัวแปรตัวอื่นๆ ได้ บางครั้งไม่สามารถบอกได้ว่าเหตุและผล อะไรเกิดก่อน

16 การศึกษาไปข้างหน้า เริ่มต้นการศึกษาด้วยกลุ่มที่ได้รับและไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง ทั้งสองกลุ่มจะต้องมีลักษณะที่คล้ายกันมากที่สุด ยกเว้น ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องการหาความสัมพันธ์ เฝ้าติดตามการเกิดโรคในระยะเวลาหนึ่งที่กำหนด มักใช้เวลาในการศึกษานานและเสียค่าใช้จ่ายมาก

17 การศึกษาไปข้างหน้า (ต่อ)
ผลลัพธ์ เป็นโรค ไม่เป็นโรค ได้รับปัจจัยเสี่ยง เฝ้าติดตามเป็นระยะเวลาหนึ่ง ประชากรที่ศึกษา เป็นโรค ไม่เป็นโรค ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง

18 ผู้ศึกษาเป็นผู้กำหนดผู้ที่จะเข้ากลุ่มและวิธีการทดลอง
การศึกษาเชิงทดลอง มักจะมี 2 กลุ่ม ทั้งสองกลุ่มจะต้องมีลักษณะที่คล้ายกันมากที่สุด ยกเว้น ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องการหาความสัมพันธ์ ผู้ศึกษาเป็นผู้กำหนดผู้ที่จะเข้ากลุ่มและวิธีการทดลอง

19 ทำการวัดก่อนการทดลอง ทำการวัดหลังการทดลอง
การศึกษาเชิงทดลอง ก่อนทดลอง หลังทดลอง กลุ่มควบคุม 1 3 กลุ่มทดลอง 2 4 ทำการวัดก่อนการทดลอง ทำการวัดหลังการทดลอง ให้สารทดสอบเฉพาะกลุ่มทดลอง

20 การทดสอบสมมติฐานด้วยการศึกษาเชิงวิเคราะห์
การศึกษาเชิงพรรณนา สมมติฐาน การค้นหาปัญหา การทดสอบสมมติฐานด้วยการศึกษาเชิงวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา การศึกษาเชิงทดลอง ดำเนินการแก้ปัญหา


ดาวน์โหลด ppt ความรู้พื้นฐานด้านระบาดวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google