ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ.ไชโย ( รอบที่ 2) วันที่ 13 มิถุนายน 2560
2
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
3
ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.การฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ <12 สัปดาห์ ผลงานร้อยละ (เป้าหมาย ร้อยละ 60) 2. การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ (เป้าหมาย ร้อยละ 90) ผลการการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมาย เนื่องจาก ปกปิดการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น ทำงานโรงงาน ฝากครรภ์ในคลินิก อสม.เชิงรุกในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ปรับระบบบริการให้รองรับกับกลุ่มเป้าหมายที่ทำงานโรงงาน 3. การเก็บข้อมูลฝากครรภ์คลินิกมาบันทึกความครอบคลุมการบริการ
4
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
5
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
6
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
7
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
8
ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 3. ทารกแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 7) ผลงานยังไม่ได้เป้าหมาย เนื่องจาก การฝากครรภ์ช้า ท้องในวัยรุ่น ( 2ราย) ครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง รณรงค์การฝากครรภ์เร็ว คุณภาพของการฝากครรภ์ 4. เด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ - สามารถคัดกรองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้ค่อนข้างมากโดยเฉพาะรพ.ไชโย
9
ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
10
ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
11
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
5. เด็ก0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ (เป้าหมายร้อยละ 51) -ปัจจุบันการเลี้ยงดุเด็กเปลี่ยนไปเช่น การอยู่กับปู่ย่าตายา -การใช้ IT ในการเลี้ยงทำให้ขาดการเคลื่อนไหวร่างกาย ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ควบคู่กับการให้อาหารเสริมตามวัย ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายของเด็กโดยเฉพาะในศูนย์เด็กเล็ก การกระตุ้นพัฒนาการโดยพ่อแม่ผู้ปกครอง
12
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
13
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
14
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ -อปท. เข้าร่วม LTC จำนวน 3 แห่ง จาก 5 แห่ง - ทำ Care Plan 157 คน จาก 188 คน ร้อยละ 83.51 1.มีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบทำให้ไม่สามารถเยี่ยมผู้ป่วยได้ทัน 2.ภาระงานของพยาบาลมีหลายด้านทำให้การทำ Care Plan ล่าช้า เร่งรัดจัดทำ Care Plan ให้ครบ -ส่ง Care Plan ให้อนุกรรมการกองทุน พิจารณาอนุมัติเงิน -ดำเนินการตาม Care Plan
15
กลุ่มงานควบคุมโรค
16
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ 2.4 -กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 715ราย - ป่วย DM รายใหม่ 9ราย คิดเป็นร้อยละ 1.1 กิจกรรม มีการจัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อสังเกต ผู้ป่วย DM ขึ้นทะเบียนใหม่ 126 ราย ทบทวนผู้ป่วย DM ขึ้นทะเบียนรายใหม่ อื่นๆ เพื่อนำข้อมูลมาใช้วางแผนดำเนินการ
17
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
3.ร้อยละการควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต ( ร้อยละ 40 , ร้อยละ 50) ควบคุม DM 1,441 ราย ตรวจ Hba1c 951 ราย คิดเป็น ร้อยละ -ควบคุมน้ำตาลได้ 483ราย คิดเป็นร้อยละ33.5 ผู้ป่วย HT จำนวน 3,050 ราย ตรวจ BP 2,326 ราย คิดเป็นร้อยละ 76 ควบคุม BP ได้ 1,248 ราย ร้อยละ 40.9 กิจกรรม จัดกิจกรรมให้คำแนะนำปรึกษา รายบุคคล รายกลุ่มใน NCD คลินิก ของ รพช. และรพ.สต. โดยใช้เทคนิค Health Coaching ประชุมติดตามประเมินผลการดำเนินงาน / แก้ไข 1 คร้ง / เดือน ต่อเนื่อง ปัญหาความครอบคลุ่มการตรวจ BP ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เนื่องจาก ผู้ป่วยไปรับการรักษาที่ รพ.เอกชน / คลินิก ญาติมารับยาต่อไม่มีผล BP มาลงข้อมูล ผู้ป่วยขาดยา / ขาดนัด รพช. / รพ.สต ตรวจสอบข้อมูลจำนวน /รายชื่อ ผู้ที่ไม่มีผล BP เพื่อเป็นข้อมูลเชิงประจักเพื่อใช้วางแผนควบคุมกำกับ สสจ. ทบทวนเรื่องการจัดการข้อมูลที่เป็นปัญหาร่วมของทุกอำเภอ
18
ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี เขตบริการสุขภาพที่ 4 จังหวัดอ่างทอง อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
19
ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี เขตบริการสุขภาพที่ 4
จังหวัดอ่างทอง อำเภอไชโย ปีงบประมาณ 2560
20
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
4. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราลดลงของ eGFR<4 mc/min/1.73m2/yr (ร้อยละ >= 65) ร้อยละ กิจกรรม รพ. ไชโย เปิดบริการ CKD คลินิกสัปดาห์ละ 2 วันดูและผู้ป่วยแบบ สหวิชาชีพ มีผู้ป่วย Stage 4 = 50 ราย Stage 5 = 10 ราย 2.ผู้ป่วย Stage 1-2 ดูแลที่คลินิก NCD ของ รพ.สต. ปัญหาจากปัจจัยด้านผู้ป่วยพบว่า มีการกินยา แก้ปวดขา ปวดเข่า / ไม่ปรับลดอาหารเค็ม การจัดกิจกรรมยังไม่เข้มข้นพอ ที่จะทำให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผู้ป่วย Stage 4 เมื่อ Refer ใน รพท แล้วไม่ได้มี Plan การดูแลรักษาอะไร 1 ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัญหาให้ชัดเจน จำแนกกลุ่มเพื่อวางแผนการจัดบริการ แก้ปัญหาได้เหมาะสม 2.ส่งต่อผู้ป่วยให้ รพ.สต. เยี่ยมติดตามที่บ้านให้ครอบครัวช่วยเหลือ 3. สสจ. นำปัญหาเสนอในที่ประชุม Service Plan สาขาไตเพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติ
21
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
22
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ( HA ) -HA ขั้นที่ 2 ยื่นธำรงขั้นที่ 2 แล้ว รอ สรพ. เข้าประเมิน การเตรียม เพื่อ Accredit ในปี 2561 แต่ละที่ทบทวนและพัฒนาส่วนขาด มีการประชุมทีมนำทุกเดือน -ทีมแพทย์มีการปรับเปลี่ยนใหม่ 3 ท่าน (รวม ผอ) ต้องการกำลังใจจากผู้บริหารระดับจังหวัด -วิกฤตการเงินทำให้การพัฒนาในเรื่องระบบบำบัด อาจช้าไปบ้างไม่สามารถเปลี่ยนใหม่ได้ จึงใช้วิธีจ้างลูกจ้างมาทำงานในการพัฒนาระบบบำบัด -ทีมจังหวัด จัดทีมเยี่ยมให้กำลังใจนอกเวลาราชการซึ่งตรงกับนโยบาย นพ.สสจ. ที่ได้ให้วิธีกับกลุ่มงานแล้ว -เพื่อรายได้ -ลดรายจ่ายตามนโยบาย -จัดลำดับความสำคัญของปัญหาแล้วแก้ไขตามลำดับเพื่อทยอยการใช้เงินให้สัมพันธ์กับรายได้
23
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2 P Safety มีการแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยและการเจรจาไกล่เกลี่ย ตามแนวทางทีกระทรวงกำหนด มีการจัดทำบัญชี ความเสี่ยง มีการรายงานความเสี่ยงตามเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนด มีการจัดทำแนวทางและมาตรการป้องกันความเสี่ยง - กรณีมีความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล ได้มีการทบทวนแนวทางและมาตรการ โดยได้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารและมีมติให้มีมาตรการในการปรับปรุงระบบบริการของ รพ. -จนท. ทุกคนต้องปฏิบัติงานตามาตรการที่ รพ.กำหนด - ทีมผู้บริหาร สสจ. ออกเยี่ยมให้กำลังใจ เจ้าหน้าที่
24
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
25
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
1. ผลิตภัณฑ์อาหารผลิตภัณฑ์สุขภาพได้มาตรฐาน ผ่านร้อยละ 100 - - การวิเคราะห์สถานการณ์ภาพรวมของอำเภอ / ตำบล ต้องรวมผลการตรวจสอบของ Mobile Unit เขต 4
26
กลุ่มงานประกันสุขภาพ
27
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. เพิ่มรายได้ -ได้ตามเป้าหมาย ทั้ง 1 กิจกรรม(แพทย์แผนไทย) -ไม่ได้ตามเป้าหมาย 3กิจกรรม (ฟิตเนส ,ทันตกรรม ,ห้องพิเศษ) ฟิตเนส 1.กลุ่มเป้าหมายยังเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบถ้วน ทันตกรรม ผู้รับบริการน้อยลง มีการปรับเปลี่ยนทันตแพทย์ ห้องพิเศษ 1. ห้องพิเศษอยุ่ในสภาพไม่พร้อมให้บริการ -มีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก / กระตุ้นติดตามให้มารับบริการ และตรวจสุขภาพประจำปี และนำกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อการ บริการเชิงรุก อยู่ระหว่างปรับปรุงพิเศษ จำนวน 6 ห้อง
28
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. ลดรายจ่าย - เวชภัณฑ์มิใช่ยา 5 ประเภท -ได้ตามแผน 3 ประเภท (การแพทย์ทั่วไป ทันตกรรม วิทยาศาสตร์) -ไม่ได้ตามแผน 2 รายการ วัสดุ X-ray และวัสดุเภสัชกรรม - มีการตรวจสุขภาพนักเรียนกีฬานอกแผน - ให้ทำแผนให้ควบคลุมอัตราการใช้จริง
29
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
3. การจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้ มีคำสั่งในการจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้และกำหนดผู้รับผิดชอบหลักเป็นรายลักษณ์อักษร -ผู้รับผิดชองงานใหม่ยังขาดประสบการณ์ - กลุ่มงานอื่นๆ ยังช่วยดำเนินงานในบางกิจกรรมไปก่อน
30
ถาม - ตอบ
32
งานการเงินและบัญชี
33
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.การจัดทำแผนทางการเงิน (แผนขาดดุล -1,996,341.49) มีการปรับแผน 6 เดือนหลัง ทำแผนขาดดุล EBITDA -700,574.96 เพิ่มรายได้ 4 กิจกรรมรวม บาท Fitness= 560,000 บาท แพทย์แผนไทย = 1,140, บาท ทันตกรรม = 456,054 บาท ห้องพิเศษ = 2,035,896 บาท -กำกับให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผน
34
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
2.ผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (พย.59รายได้36.16 % ค่าใช้จ่าย %) ไตรมาส 2/60 รายได้ -5.87% ค่าใช้จ่าย -6.60% เมย 60 รายได้ % ค่าใช้จ่าย -1.53 %) รายได้ค่ารักษาน้อยกว่าแผน รวม -373,377 ร้อยละ -9.60% ดังนี้ ต้นสังกัด , อปท เนื่องจากผู้รับบริการน้อยลง กรมบัญชีกลาง เดือน เมย.60มีวันหยุดมากทำให้แผนจาก Fitness และนวดแผนไทย ไม่ได้ตามเป้าหมาย รายได้งบลงทุน – เนื่องจากเก็บตัวเลขในการประมาณการแผนไม่ถูกต้อง ทำแผนสูงไป 340,139.08 ค่าใช้จ่ายเกินแผน 86,900.05 ต้นทุนยา เนื่องจาก มูลค่าการใช้ยา NCD มีการใช้เพิ่มขึ้นจากประมาณการเมื่อต้นปี ,ค่าสาธารณูปโภค เนื่องจากเดือนเม.ย. 60 อากาศร้อนจัด ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าแผน 408, ดังนี้ ต้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ ,วัสดุทันกรรม ,วัสดุวิทย์ ค่าจ้างชั่วคราว -0.59,ค่าตอบแทน -4.21,ค่าใช้สอย วัสดุใช้ไป 7.55 ค่าเสื่อมราคา -0.29,หนี้สูญและสงสัยจะสูญ -6.12 ตั้งแต่เดือนมิย 60 จะมีกลุ่มเลี่ยงจากไขมันในเลือดสูงและ BMI เกินจะกระตุ้นโดยเพิ่มเป้าหมายรายรับ Fitness การเพิ่มรายได้นวดแผนไทยจะดำเนินการเปิดนวดนอกเวลาราชการในวันพุธ และวันเสาร์เต็มวัน รพ.ได้รับการตอบรับจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงานจะได้รับการเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศ จำนวน 30 ตัว และหลอดLED จำนวน 300 หลอด โดยมีแผนดำเนินการในไตรมาสที่ 4
35
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
2.1ระบบสอบทานรายงานการเงินกับข้อมูลรักษา 3.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) 4.หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกิน ค่าmean+1SD ของกลุ่มบริการระดับเดียวกัน (20กลุ่ม) (รพช. F 2 <=30,000) มีการสอบทานรายงานการเงิน(ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษา/กับโปรแกรม Hosxp/ เรียกเก็บ )มีผู้รับผิดชอบสอบทาน ยกเว้นสิทธิพรบ. ไตรมาส 2/60 ผ่าน 4 ตัว (B-) ไตรมาส2/60 (ผ่าน) =0.190 (mean+1SD=0.33) ยังมีบางส่วนข้อมูลยังไม่ตรง สิทธิ พรบ.ยังไม่สอบทาน -ระยะเวลาชำระหนี้ 329 cash 0.69 (เกณฑ์ cash <0.8 จ่ายภายใน 180 วัน การประมวลผลโดยส่วนกลางทางรพ.ไม่ทราบข้อมูล ให้มีการสอบทานข้อมูลการรักษา(hosxp},การเรียกเก็บ,ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษา ทำแผนการชำระหนี้ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จัดระบบชำระหนี้ก่อน-หลัง มีระบบการบริหารสั่งซื้อ รับรู้หนี้สิน จังหวัดประสานส่วนกลางเรื่องการส่งข้อมูลผลการประเมิน
36
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 5.คะแนนการประเมิน FAI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไตรมาส 2/60 ได้ 92 % (ผ่าน) ไม่มี กิจกรรมการควบคุมภายใน ให้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนด โดยให้ส่งผลการดำเนินการตามแผนและผล การพัฒนาองค์การ 5 มิติ ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. ภายใน 30 มิย 60 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี ให้ดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดและกิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังให้ดำเนินให้ครบทุกขั้นตอนตามเกณฑ์ที่กำหนด
37
พยากรณ์แนวโน้มไตรมาส 4 ปี 60
งปม. CR (<1.5) QR(<1) Cash (<.80) NWC(<0) NI+Depreciation Risk scoring เมย.60 0.89 0.84 0.65 1,902,400.61 4 Planfin รายได้ Planfin ค่าใช้จ่าย NI (รายได้หักค่าใช้จ่ายรวมงบลงทุนและค่าเสื่อมราคา) Risk scoring 60,612,085.99 60,599,663.05 12,422.94 4 ผลการดำเนินงานตามแผน เดือนเมษายน 2560 รายได้ค่ารักษาน้อยกว่าแผน 373,377 บาท ค่าใช้ต่ำกว่าแผน 321, บาท สรุป รพ.ไชโยทำแผน รายได้สูงกว่าใช้จ่ายโดยมี NI เท่ากับ 12, บาท หากรพ.มีผลการดำเนินงานรายได้ต่ำกว่าแผนทำให้มีผลการดำเนินงาน NI (เป็นลบ) จะปัญหาวิกฤติรุนแรงระดับ 7 หลังไตรมาส 3 ปี 2560
38
สรุปรับจ่ายโรงพยาบาลไชโย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.