ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความรู้เบื่องต้น เกี่ยวกับ “สารปนเปื้อนในอาหาร”
2
วันนี้เรามารู้จักสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ชนิดนะคะ
วันนี้เรามารู้จักสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ชนิดนะคะ บอแรกซ์ สารกันรา (กรดซาลิซิลิค) สารฟอกขาว(โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์) ฟอร์มาลิน และ สารตกค้างยาฆ่าแมลง
3
บอแรกซ์ เป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสขมเล็กน้อย
ใช้ในอุตสาหกรรมการทำแก้วเพื่อให้ทนความร้อน, ใช้ประสานในการเชื่อมทอง เพ่งแซ เม่งแซ ผงกรอบ ผงกันบูด น้ำประสานทอง
4
อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย
เป็นพิษต่อไต และ สมอง มีอาการ คือ อ่อนเพลีย อาเจียน ปวดหัว เบื่ออาหาร ท้องร่วง เยื่อตาอักเสบ และอาจตายได้
5
อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย
ผู้ใหญ่ ได้รับสารบอแรกซ์ 15 กรัม และ เด็ก ได้รับ 5 กรัม จะทำให้อาเจียนเป็นเลือด และถึงแก่ชีวิตได้ ภายใน 3-4 ชม.
6
กฎหมาย สารห้ามใช้ในอาหาร ผู้ใดฝ่าฝืน ปรับไม่เกิน 20,000 บาท
ผู้ใดฝ่าฝืน ปรับไม่เกิน 20,000 บาท ฉลากต้องมีข้อความ “บอแรกซ์อันตรายห้ามใช้ในอาหาร”
7
อาหารที่มักตรวจพบว่ามีบอแรกซ์
ลูกชิ้น หมูบด ทอดมัน ลอดช่อง ผัก ผลไม้ดอง ทับทิมกรอบ
8
สารกันรา (กรดซาลิซิลิค)
เป็นกรด ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ กรดซาลิซิลิค แต่ห้ามใช้กับอาหาร มักใส่ในอาหารหมักดอง
9
อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย
อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ระคายเคือง กระเพาะอาหาร หูอื้อ ลำไส้ มีไข้ขึ้นสูง ผิวหนังเป็นผื่นแดง
10
อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย
ถ้าได้รับกรดซาลิซิลิคจนมีความเข้มข้นในเลือดถึง 25 – 35 มก. ต่อ เลือด มล. จะมีอาการ หูอื้อ มีไข้ และอาจถึงตายได้
11
อาหารที่มักตรวจพบว่ามีสารกันรา
ผัก ผลไม้ดอง ต่างๆ ปลาส้ม ปลาทูเค็ม
12
สารฟอกขาว (โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์)
หรือเรียก ผงซักมุ้ง ใช้ฟอกแห-อวน ให้ขาว แอบใส่ในอาหารให้ขาว ห้ามใส่ในอาหาร
13
อาหารที่มักตรวจพบว่ามีสารฟอกขาว
กระท้อนดอง ขิงซอย ถั่วงอก น้ำตาลมะพร้าว ทุเรียนกวน ยอดมะพร้าว
14
อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย
ปวดศีรษะรุนแรง ผิวหนังอักเสบ แดง ระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร เจ็บ แน่นหน้าอก ช็อค หมดสติ
15
อันตรายของสารฟอกขาว หากบริโภคเกิน 30 กรัม ความดันโลหิตลดลงอย่างรวดเร็ว จะทำให้ถ่ายเป็นเลือด ชัก ช็อก หมดสติ หายใจไม่ออก ไตวาย และเสียชีวิตในที่สุด
16
วิธีการหลีกเลี่ยงสารฟอกขาว
หลีกเลี่ยงอาหารที่ขาวมากเกินไป หรือ ขาวผิดธรรมชาติ
18
ฟอร์มาลิน น้ำยาดองศพ ใช้ฆ่าเชื้อโรค/ดองศพ ระเหยได้ มีกลิ่นฉุน แสบจมูก
19
อาหารที่มักตรวจพบฟอร์มาลิน
อาหารทะเลสด ผัก ผลไม้ สด เห็ดสด สไบนาง (ผ้าขี้ริ้วสีขาว)
20
สไบนาง (ผ้าขี้ริ้วสีขาว)
21
อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย
ปวดศีรษะ ระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ ปวดท้องรุนแรง ชัก ช็อค หมดสติ
22
ผลกระทบต่อสุขภาพ ถ้ารับประทาน 30 – 60 มิลลิลิตร จะทำให้เกิดอาการปวดท้องรุนแรง อาเจียน ท้องเดิน หมดสติ และเสียชีวิต
23
ยาฆ่าแมลง/สารพิษตกค้าง
สารพิษตกค้าง หมายถึง วัตถุอันตรายทางการเกษตร หรือ สิ่งปลอมปนในวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่มีความเป็นพิษ ซึ่ง ปนเปื้อน หรือตกค้างในอาหาร มีจุดประสงค์ในการใช้เพื่อ ป้องกัน ทำลาย ขับไล่ หรือควบคุมศัตรูพืช หรือสัตว์ ที่ไม่พึงประสงค์
24
อาหารที่มักตรวจพบยาฆ่าแมลง/สารพิษตกค้าง
ผัก และ ผลไม้ ธัญพืช ต่างๆ อาหารตากแห้งบางชนิด เช่น ปลาทูเค็ม เนื้อแห้ง
25
อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย
เกิดพิษสะสม เป็นปัญหาเรื้อรัง เป็นอันตรายต่อระบบสมองและประสาท เช่น ความจำเสื่อม สมาธิสั้น เป็นต้น เป็นพิษต่อตับ และ ไต รบกวนระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย กระทบต่อต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) เป็นสารก่อมะเร็ง และสารก่อกลายพันธุ์ ทำให้ทารกในครรภ์พิการ ต่อมใต้สมอง
26
ระบบต่อมไร้ท่อในร่างกาย
ต่อมใต้สมอง ต่อมเพศ ต่อมไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์* ต่อมไธมัส ต่อมหมวกไต* ต่อมตับอ่อน*
27
ในสารพิษตกค้าง พบว่า... เป็นสารพิษในกลุ่มฟอสเฟต และคาร์บาเมท
ในสารพิษตกค้าง พบว่า... เป็นสารพิษในกลุ่มฟอสเฟต และคาร์บาเมท สารพิษตกค้างส่วนใหญ่มีผลกระทบต่อระบบประสาท ถ้าได้รับพิษ 2 ชนิด รวมกันขึ้นไป จะยิ่งทำให้เกิดพิษสะสมสูง/เสริมฤทธิ์กัน(1,000 เท่า)
28
วิธีการล้างผัก/ผลไม้ ลดสารพิษตกค้าง
ใช้โซเดียมไบคาร์บอเนต (ผงฟู) 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำอุ่น 1 กะละมัง (20 ลิตร) แช่นาน 15 นาทีจะช่วยลดปริมาณสารพิษลงได้ 90 – 92% 2. ใช้น้ำส้มสายชู (5%) ประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ 1 กะละมัง แช่นาน นาที แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด ปริมาณสารพิษที่ลดลงด้วยวิธีนี้คือ 60 – 84%
29
วิธีการล้างผัก/ผลไม้ ลดสารพิษตกค้าง (ต่อ)
3. ล้างผักโดยให้น้ำไหลผ่าน ใช้มือช่วยคลี่ใบผัก นาน 2 นาที วิธีนี้ลดปริมาณสารพิษลงได้ %
30
วิธีการล้างผัก/ผลไม้ ลดสารพิษตกค้าง (ต่อ)
4. ต้มหรือลวกผักด้วยน้ำร้อน ปริมาณสารพิษที่ลดลงคือ 48 – 50%
31
การตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง อาหาร ด้วย ชุดทดสอบอย่างง่าย (Test Kits)
32
ขั้นตอนการใช้ชุดทดสอบ บอแรกซ์
33
บอแรกซ์
34
ชื่อสารเคมี น้ำยาทดสอบบอแรกซ์ คือ สารละลาย HCl เจือจาง กระดาษขมิ้น มี สารเคอร์คูมิน (Cercumin)
35
ขั้นตอนการทดสอบ 1. สับตัวอย่างให้เป็นชิ้นเล็กๆ เท่าหัวไม้ขีดไฟ
36
2. ตักตัวอย่าง 1 ช้อน ใส่ในถ้วยพลาสติก
37
3. เติมน้ำยาทดสอบบอแรกซ์จนแฉะ
แล้วกวนให้เข้ากัน
38
4. จุ่มกระดาษขมิ้น ให้เปียกครึ่งแผ่น
4. จุ่มกระดาษขมิ้น ให้เปียกครึ่งแผ่น
39
5. วางกระดาษขมิ้นบนจานกระเบื้องหรือแผ่นกระจก
5. วางกระดาษขมิ้นบนจานกระเบื้องหรือแผ่นกระจก แล้วนำไปวางกลางแดดนาน นาที 1 3 2
40
การอ่านผล 1 3 2 พบบอแรกซ์ สีส้มจนถึงสีแดง ไม่พบ
41
ขั้นตอนการใช้ชุดทดสอบ กรดซาลิซิลิค
42
กรดซาลิซิลิค(สารกันรา)
43
ชื่อสารเคมี น้ำยาทดสอบ 1 คือ สารละลายกรดซาลิซิลิค
น้ำยาทดสอบ 1 คือ สารละลายกรดซาลิซิลิค น้ำยาทดสอบ 2 คือ สารละลายเฟอร์ริคคลอไรด์ (FeCl3)
44
ขั้นตอนการทดสอบ เทน้ำผักดองใส่ในถ้วย เบอร์ 1 และ เบอร์ ถ้วยละ 5 มิลลิลิตร 1 2 5 ml
45
2 2. หยดน้ำยาซาลิซิลิค 1 ลงในถ้วยเบอร์ 2 จำนวน 1 มิลลิลิตร หรือ 10 หยด
2. หยดน้ำยาซาลิซิลิค 1 ลงในถ้วยเบอร์ 2 จำนวน 1 มิลลิลิตร หรือ 10 หยด 2 น้ำยาทดสอบซาลิซิลิค 1
46
1 2 3. เติมน้ำยาซาลิซิลิค 2 ลงทั้งสองด้วย ถ้วยละ 1 หลอด (1 มิลลิลิตร)
3. เติมน้ำยาซาลิซิลิค 2 ลงทั้งสองด้วย ถ้วยละ 1 หลอด (1 มิลลิลิตร) 1 2 น้ำยาทดสอบซาลิซิลิค 2
47
ถ้วยที่ 1 มี สีเหมือน ถ้วยที่ 2
ถ้วยที่ 1 มี สีเหมือน ถ้วยที่ 2 แสดงว่า มีกรดซาลิซิลิค 1 2
48
ถ้วยที่ 1 มี สีไม่เหมือน ถ้วยที่ 2
ถ้วยที่ 1 มี สีไม่เหมือน ถ้วยที่ 2 แสดงว่า ไม่มี กรดซาลิซิลิค 1 2
49
ขั้นตอนการใช้ชุดทดสอบ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์
50
ชุดทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ (สารฟอกขาว)
51
ชื่อสารเคมี น้ำยาทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ คือ.. สารละลายคอปเปอร์ซัลเฟต (CuSO4.5H2O)
52
1. เทตัวอย่างของเหลว ลงในถ้วยยา 5 มิลลิลิตร
ขั้นตอนการทดสอบ 1. เทตัวอย่างของเหลว ลงในถ้วยยา 5 มิลลิลิตร
53
2. ตัวอย่างเป็นของแข็ง ตักตัวอย่าง ครึ่งช้อนชา ใส่ในถ้วยพลาสติก
เติมน้ำสะอาดประมาณ 10 มิลลิลิตร บดตัวอย่างให้แตก
54
3.หยดน้ำยาในขวดหยด จำนวน 1 – 3 หยด แล้วเขย่าให้เข้ากัน
3.หยดน้ำยาในขวดหยด จำนวน 1 – 3 หยด แล้วเขย่าให้เข้ากัน
55
สารละลายเป็น สีเทา – ดำ มีสารฟอกขาว ประเภทโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์เจือปน
สารละลายเป็น สีเทา – ดำ มีสารฟอกขาว ประเภทโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์เจือปน
56
สารละลายเป็น สีเขียว มีสารฟอกขาวที่อนุญาตให้ใช้
สารละลายเป็น สีเขียว มีสารฟอกขาวที่อนุญาตให้ใช้
57
สารละลายเป็นสีฟ้าอ่อน ไม่มีสารฟอกขาว
สารละลายเป็นสีฟ้าอ่อน ไม่มีสารฟอกขาว
58
ระดับสีในการทดสอบหาโซเดียมซัลไฟต์
ไม่ผ่าน ผ่าน ผ่าน
59
ขั้นตอนการใช้ชุดทดสอบ ฟอร์มาลิน
60
ฟอร์มาลิน
61
ชื่อสารเคมี น้ำยาฟอร์มาลิน 1 คือ สารละลาย Phynylhydrazine hydrochloride (C6H9ClN2) น้ำยาฟอร์มาลิน 2 คือ สารละลาย Potssium hexacyanoferrate (K4Fe(CN6)) น้ำยาฟอร์มาลิน 3 คือ สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น (HCl conc.)
62
ตัวอย่างเป็นของเหลว เทน้ำแช่อาหารลงในขวดที่ 1 จำนวนครึ่งขวด
เทน้ำแช่อาหารลงในขวดที่ 1 จำนวนครึ่งขวด - ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย
63
ตัวอย่างเป็นของแข็ง ใช้น้ำสะอาดประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ล้างตัวอย่าง
ใช้น้ำสะอาดประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ล้างตัวอย่าง เทน้ำล้างลงในขวดที่ 1 จำนวนครึ่งขวด ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย
64
วิธีการใช้ชุดทดสอบ เทสารละลายจากขวดที่ 1 ลงในขวดที่ ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย ถ่ายสารละลายจากขวดที่ 2 ลงในขวดที่ 3
65
ขวดที่ 2 ขวดที่ 3 ขวดที่ 1 อ่านผลที่ ขวดที่ 3
66
การอ่านผล ถ้าสารละลายเป็น สีชมพู ถึง สีแดง
ถ้าสารละลายเป็น สีชมพู ถึง สีแดง แสดงว่า มีฟอร์มาลิน ปนอยู่ในตัวอย่าง
68
แนวทางการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร
1. พื้นที่เป้าหมาย : ทุกอำเภอ 2. กลุ่มเป้าหมาย : ร้านอาหาร/แผงลอย ตลาดสด และอื่นๆ 3. เครื่องมือ: แบบฟอร์มการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ชนิด
69
แบบฟอร์มการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร
70
ส่งผลการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินการ : เม.ย.- มิ.ย. 59 ส่งผลการดำเนินงาน : ก.ค.59 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข หรือ เบอร์โทรติดต่อ
71
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.