งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Roman Catholic อาจารย์สอง Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Roman Catholic อาจารย์สอง Satit UP."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Roman Catholic อาจารย์สอง Satit UP

2 มุขนายก หรือ พระสังฆราช หรือ บิชอป
Bishop

3 ตำแหน่ง พระสังฆราช หรือ บิชอป ( Bishop ) เป็นคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ เป็นตำแหน่งสมณศักดิ์ในคริสต์ศาสนา ที่มีใช้ใน - นิกายโรมันคาทอลิก (Roman Catholic) - นิกายออร์โธดอกซ์ ( Orthodox ) - นิกายแองกลีกัน ( Anglican หรือ Church of England ) หนึ่งในนิกายย่อยของนิกายโปรเตสแตนท์ ** เป็นนิกายโปรเตสแตนท์ที่มีลักษณะหลายอย่างคล้ายคลึงกับนิกายคาทอลิกมาก

4 นิกาย Catholic บิชอป : Bishop บิชอป หรือ พระสังฆราช หรือ มุขนายก หรือ
บิชอป หรือ พระสังฆราช หรือ มุขนายก หรือ สีหรือเครื่องแต่งกายประจำของตำแหน่ง บิชอป คือ สีม่วง

5 อาร์คบิชอป (Archbishop) = พระอัครสังฆราช บิชอป (Bishop) = พระสังฆราช อาร์คบิชอป = ปกครองเขตสังฆมณฑล(เขตมิสซัง ; Diocese) ที่ใหญ่กว่า บิชอป = ปกครองเขตสังฆมณฑล(เขตมิสซัง : Diocese) ที่เล็กกว่า หัวหน้าปกครองเขต สังฆมณฑล/มิสซัง ( Diocese) ได้รับการแต่งตั้งโดย พระสันตะปาปา

6 อาร์คบิชอป (Archbishop) = ปกครองเขตสังฆมณฑลที่ใหญ่กว่า บิชอป (Bishop) = ปกครองเขตสังฆมณฑลที่เล็กกว่า บิชอป หรือ พระสังฆราช หรือ มุขนายก หัวหน้าปกครองเขต สังฆมณฑล/มิสซัง (Diocese) ได้รับการแต่งตั้งโดย พระสันตะปาปา

7 อัครสังฆมณฑล (Diocese) อัครสังฆมณฑล (Diocese)
Bishop & Archbishop สังฆมณฑล (Diocese) อัครสังฆมณฑล (Diocese) สังฆมณฑล (Diocese) Bishop Archbishop Bishop อัครสังฆมณฑล (Diocese) สังฆมณฑล (Diocese) Archbishop Bishop สังฆมณฑล (Diocese) สังฆมณฑล (Diocese) Bishop Bishop

8 Bishop & Archbishop Bishop กับ Archbishop

9 Bishop & Archbishop Bishop กับ Archbishop
ปัลลิอุม (Pallium) = เป็นแถบผ้าขนสัตว์สีขาวใช้คล้องไหล่ โดยพระสันตะปาปามอบให้พระอัครสังฆราช(Archbishop)

10 ลำดับศาสนศักดิ์ทางศาสนานิกายโรมันคาทอลิก (Catholic)
อาร์คบิชอป (Archbisop) และ บิชอป (Bishop) พระสังฆราช หรือ มุขนายก หรือ บิชอป ( Bishop ) คือหัวหน้าในเขตปกครองที่เรียกว่า diocese (สังฆมณฑล) เป็นพระระดับสูงชั้นพระราชาคณะมีอำนาจปกครองพระสงฆ์ ในเขตสังฆมณฑลของตนที่ปกครองดูแล

11 ลำดับศาสนศักดิ์ทางศาสนานิกายโรมันคาทอลิก (Catholic)
พระสังฆราช หรือ มุขนายก หรือ บิชอป ( Bishop ) สรรพนามที่ใช้แทนพระสังฆราช หรือ บิชอป ในประเทศไทย ในเวลาพูดถึงหรือสนทนากับท่าน มักจะเรียกสรรพนามแทนท่านที่มีตำแหน่งนี้ว่า “ พระคุณเจ้า ”

12 ลำดับศาสนศักดิ์ทางศาสนานิกายโรมันคาทอลิก (Catholic)
พระสังฆราช หรือ มุขนายก หรือ บิชอป ( Bishop ) ในนิกายโรมันคาทอลิก บิชอบเป็นประมุขบาทหลวง ในเขตคาทอลิกได้รับแต่งตั้งจากพระสันตะปาปา จากสำนักวาติกัน(Vatican) ตามปรกติโดยผ่านการเห็นชอบของรัฐบาลในประเทศ ที่รับตำแหน่งมีหน้าที่ปกครองเขตคาทอลิก(เขตมิซวัง หรือ สังฑมณฑล : diocese)ที่ได้รับตำแหน่งประจำอยู่ โดยในเขตคาทอลิกใหญ่หรือสังฆมณฑล(ที่สำคัญหรือมีขนาดใหญ่) ผู้ปกครองก็จะมีตำแหน่งเป็นอาร์บิชอบ(Archbishop) โดยบิชอบทุกรูปในประเทศหนึ่ง ๆ รวมกันเป็นสภาบิชอบมีหน้าที่วางแผนนโยบาย และตัดสินปัญหาที่เกี่ยวกับศาสนาในประเทศของตน

13 2 สังฆมณฑลใหญ่ = มี อาร์ชบิชอบ 2 รูป 8 สังฆมณฑล = มี บิชอบ 8 รูป
ปัจจุบันคริสต์จักรคาทอลิกในประเทศไทยแบ่งเขตปกครองในประเทศไทยออกเป็น 10 สังฆมณฑล 2 สังฆมณฑลใหญ่ = มี อาร์ชบิชอบ 2 รูป สังฆมณฑล = มี บิชอบ 8 รูป พระสังฆราช หรือ มุขนายก หรือ บิชอป เป็นหัวหน้าในเขตปกครองที่เรียกว่า Diocese (สังฆมณฑล หรือ หรือ เขตคาทอลิก หรือ มิสซัง)

14 สมณศักดิ์ ของพระในนิกายคาทอลิก

15 บิชอป ( Bisop ) หรือ พระสังฆราช หรือ มุขนายก

16 นิกาย Catholic : มุกขนายก หรือ พระสังฆราช หรือ ปิชอป ( Bishop )

17 นิกาย Catholic : ( ปิชอป : Bishop )

18 นิกาย Catholic : ( ปิชอป : Bishop )

19 นิกาย Catholic : ( ปิชอป : Bishop )

20 นิกาย Catholic : ( ปิชอป : Bishop )
ในภาพ ; พระอัครสังฆราช(อาร์คบิชอป) ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวานิช ... ประมุขแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

21 พระสันตะปาปาฟรานซิส ส่งสาส์นแสดงธรรมสังเวชของการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ผ่านทางคณะสภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย เข้า เมื่อวันที่ (8 พ.ย. 2556) 

22 นิกาย Catholic : ( ปิชอป : Bishop )
คณะสภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย เข้าเฝ้าฯ เพื่อเชิญพระธาตุนักบุญศักดิ์สิทธิ์ฯ เพื่ออธิษฐานภาวนาขอพระพรจากพระเจ้า ขอให้พระเจ้าอยู่หัว มีพระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง เมื่อวันที่ (11 พ.ค. 2557) 

23 พระสังฆราช หรือ บิชอป(Bishop) มองซินญอร์(Monseigneur)

24 พระสังฆราช หรือ บิชอป(Bishop) มองซินญอร์(Monseigneur)

25 นิกาย Catholic : ( ปิชอป : Bishop )
มองซินญอร์(Monseigneur) พระสังฆราช หรือ บิชอป(Bishop)

26 พระสังฆราช หรือ บิชอป(Bishop) มองซินญอร์(Monseigneur)

27 มองซินญอร์(Monseigneur) พระสังฆราช หรือ บิชอป(Bishop)

28 พระสังฆราช หรือ บิชอป(Bishop) มองซินญอร์(Monseigneur)

29 นิกายแองกลีกัน หรือ นิกายคริสต์จักรแห่งอังกฤษ (Anglican หรือ Church of England) หนึ่งในนิกายย่อยของนิกายโปรเตสแตนท์

30 ที่มานิกายแองกลีกัน หรือ นิกายคริสต์จักรแห่งอังกฤษ (Anglican หรือ Church of England) หนึ่งในนิกายย่อยของนิกายโปรเตสแตนท์ นิกายแองกลีกันแยกตัวออกมาจากนิกายคาทอลิกในตอนต้น ศตวรรษที่ 16 ด้วยเหตุผลทางการเมืองเมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปา พระองค์ไม่พอใจและมีความต้องการให้คริสตจักรแห่งอังกฤตัดขาดจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี ค.ศ แล้วออกพระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนาซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ แต่พอถึงรัชสมัยสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษก็ทรงนำคริสตจักรแห่งอังกฤษกลับไปรวมกับคริสตจักรคาทอลิกอีกในปี ค.ศ จนกระทั่งสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษให้รัฐสภาออกพระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนา ค.ศ ปฏิเสธอำนาจของพระสันตะปาปาในคริสตจักรแห่งอังกฤษอีก ทั้งฝ่ายคาทอลิกและฝ่ายปฏิรูปต่างพยายามรูปแบบหลักความเชื่อและพิธีกรรมให้เป็นไปตามแบบของตนตลอดมา จนความขัดแย้งมาสิ้นสุดเมื่อมีข้อตกลงเอลิซาเบธันโดยกำหนดว่าคริสตจักรแห่งอังกฤษเป็นทั้งแบบคาทอลิกและปฏิรูป

31 ลำดับศาสนศักดิ์ทางศาสนานิกายแองกลีกัน (Anglican)
ตำแหน่ง พระสังฆราช หรือ บิชอป ( Bishop ) นิกายแองกลีกัน หรือ นิกายคริสต์จักรแห่งอังกฤษ (Anglican หรือ Church of England) หนึ่งในนิกายย่อยของนิกายโปรเตสแตนท์ ในมีอาร์ชบิชอบแห่งแคนเตอร์เบอรี่ (Archbishop of Canterbury)เป็นประมุขปกครอง และได้รับแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์อังกฤษ(กษัตริย์มีอำนาจในการแต่งตั้ง) รองประมุขได้แก่ อาร์ชบิชอบแห่งยอร์ก ถัดลงมามีบิชอบประจำเมืองใหญ่ ๆ หรือ เมืองที่มีความสำคัญทางคริสต์จักรอังกฤษ เช่น กรุงลอนดอน เมืองวินเชสเตอร์ เบอร์มิงแฮม บริสตอล อีลีเดอราม ออกซฟอร์ด ลิเวอร์พูล และแมนเชสเตอร์ เป็นต้น ในดินแดนที่เคยเป็นอาณานิคมอังกฤษ และปัจจุบันได้กลายเป็นประเทศอิสระแต่ยังรวมอยู่ในจักรภพ เช่น แคนาดา และออสเตรเลีย ก็มีบิชอบเช่นเดียวกัน ในประเทศไทยไม่มี บิชอบคริสต์จักรอังกฤษ เพราะมีผู้นับถือน้อย

32 ลำดับศาสนศักดิ์ทางศาสนานิกายแองกลีกัน (Anglican)
ตำแหน่ง พระสังฆราช หรือ บิชอป ( Bishop ) นิกายแองกลีกัน หรือ นิกายคริสต์จักรแห่งอังกฤษ (Anglican หรือ Church of England) หนึ่งในนิกายย่อยของนิกายโปรเตสแตนท์ อาร์ชบิชอบแห่งแคนเตอร์เบอรี่(Archbishop of Canterbury)เป็นศาสนศักดิ์สูงสุดเป็นประมุขปกครองและได้รับแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์อังกฤษ(กษัตริย์มีอำนาจในการแต่งตั้ง) ที่มาของอาร์ชบิชอบแห่งแคนเตอร์เบอรี่ (Archbishop of Canterbury) คือ นายกรัฐมนตรีอังกฤษจะเสนอรายชื่อ 2 คนผู้ที่สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นอาร์ชบิชอบแห่งแคนเตอร์เบอรี่ จากนั้นกษัตริย์อังกฤษจะคัดเลือกมา 1 คนจาก 2 คนนี้เป็นอาร์ชบิชอบแห่งแคนเตอร์เบอรี่

33 ลำดับศาสนศักดิ์ทางศาสนานิกายแองกลีกัน (Anglican)

34 อาร์ชบิชอบแห่งแคนเตอร์เบอรี่(Archbishop of Canterbury)เป็นศาสนศักดิ์ที่สูงที่สุดของนิกายแองกลีกัน ในประเทศอังกฤษ และได้รับแต่งตั้งโดยกษัตริย์อังกฤษ(กษัตริย์มีอำนาจในการแต่งตั้ง)

35 อาร์ชบิชอป โรแวน วิลเลียม (Rowan Williams) อาร์ชบิชอบแห่งแคนเตอร์เบอรี่ (Archbishop of Canterbury) ให้การต้อนรับ พระสันตะปาปาเบเนดิกท์ที่ 16 เมื่อครั้งมาเยือนเกาะอังกฤษ ในปี 2010

36 อาร์ชบิชอปแห่งแคนเตอร์เบอรี่(Archbishop of Canterbury) คนปัจุบัน
คือ อาร์คบิชอปจัสติน เวลบี (Justin Welby) ( ) พบปะกับ พระสันตะปาปาฟรานซิส


ดาวน์โหลด ppt Roman Catholic อาจารย์สอง Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google