ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยさや しばもと ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 12-13 มกราคม 2559
การดำเนินงานภายใต้แผนบูรณาการและตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 สุธิดา อุทะพันธุ์ หัวหน้ากลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ มกราคม 2559
2
ระดับกระทรวงระหว่างกระทรวง ภายในกระทรวงระหว่างกรม
จำนวนแผนงาน ชื่อแผนงาน ระดับ ประเทศ (19 แผนงาน) 1. การเตรียมความพร้อมประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 3. การพัฒนาระบบบริหารจัดการและบริหารของประเทศ 4. เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 5. การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 6. การจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ 7. การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 8. การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 9. การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ 10. การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ 11.การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต 12.การป้องกันปราบปราม และบำบัดรักษา ผู้ติดยาเสพย์ติด 13.การฟื้นฟู ป้องกัน และการจัดการภัยพิบัติ 14.การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 15.การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ 16.การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการใช้พลังงานอย่างยั่งยืน 17.การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและแก้ไขปัญหาที่ดินทำกิน 18.การจัดระเบียบการค้าในที่สาธารณะ 19.การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับกระทรวงระหว่างกระทรวง (10 แผนงาน) 1.การเตรียมความพร้อมประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 3.การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4.การจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ 5.การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 6.การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต 7.การป้องกัน ปราบปราม และบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพย์ติด 8.การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 9.การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ 10.การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภายในกระทรวงระหว่างกรม (10+2 แผนงาน) 3. การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 5. การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 7.การป้องกันปราบปราม และบำบัดรักษา 8. การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 9. การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ 10. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 11.การพัฒนาด้านสาธารณสุข 12.การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ ที่มา: นโยบายและแนวทางการดำเนินงานแบบบูรณาการกระทรวง สธ. ปีงบประมาณ 2559 โดย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 15 ตุลาคม 2558
3
(Sources) (Receptors) (Pathways)
กรอบแนวคิดการบูรณาการของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ประชาชนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น (เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ/รัฐบาล) (เป้าหมายการให้บริการ กระทรวงสาธารณสุข) ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพ จากปัญหาขยะ/สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์กระทรวงฯ ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างหลักประกันด้านความปลอดภัยทางสุขภาพจากปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อมสำหรับประชาชนทุกกลุ่มวัย มีการเฝ้าระวังสุขภาพเชิงรุกและบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพสำหรับ ปชช. ในพื้นที่เสี่ยง การบังคับใช้กฎหมายฯ มีประสิทธิภาพ มีระบบประเมินความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพ การเตือนภัย ประชาชนในพื้นที่เสี่ยง โดยการมีส่วนร่วมภาคประชาชน ผลผลิตกระทรวงฯ (Sources) (Receptors) (Pathways) มาตรการ ภารกิจกรมที่เกี่ยวข้อง -โครงการ/กิจกรรม ภารกิจกรมที่เกี่ยวข้อง -โครงการ/กิจกรรม ภารกิจกรมที่เกี่ยวข้อง -โครงการ/กิจกรรม คำนิยามและขอบเขต: ขยะ หมายถึง ขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ของเสียทางการแพทย์และจากสถานบริการสาธารณสุข และของเสียอันตราย รวมถึง ขยะอิเลคทรอนิคส์ สิ่งแวดล้อม หมายถึง มลภาวะอากาศและน้ำ สารเคมีเป็นพิษ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมและการทำงาน
4
ขยะและสิ่งแวดล้อม ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เป้าหมาย : ปี 2559 จังหวัดจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในระดับดีขึ้นไปร้อยละ 50 ระบบข้อมูลสถานการณ์และ การเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ พัฒนา/ปรับปรุงกฎหมายเสริมสร้างประสิทธิภาพ อสธจ. ระบบบริหารจัดการ ของเสียจากสถานพยาบาล ส่งเสริม อปท.จัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) การดูแลสุขภาพประชาชน ผู้ได้รับผลกระทบ 1.จัดทำฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.พัฒนาศักยภาพ จนท.สธ. /ท้องถิ่นในการเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยง 3.เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 4.สื่อสารเตือนภัยผลกระทบต่อสุขภาพ 1.จัดประชุม อสธจ. เพื่อขับเคลื่อนงานตามนโยบาย/แก้ไขปัญหา 2.พัฒนาศักยภาพการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุขแก่ อปท./ทจ./ทอ./รพ. 3.ผลักดัน/สนับสนุนให้ อปท.ออกข้อกำหนดท้องถิ่น 1.พัฒนาระบบฐานข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อ 2.อบรมและกำกับติดตามให้มีการใช้ระบบควบคุมกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ 3.พัฒนาให้มีต้นแบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อที่ถูกต้อง 4.พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียในรพ.ให้มีประสิทธิภาพ 1.ชี้แจงนโยบายแก่ผู้บริหาร อปท. 2.พัฒนาศักยภาพ อปท. เพื่อเป็น Practitioner 3.ประเมินคุณภาพ EHA อปท. 4.ควบคุม กำกับการขนและกำจัดสิ่งปฏิกูลที่ถูกสุขลักษณะ 5. พัฒนาให้มีต้นแบบการจัดการสิ่งปฏิกูลที่สุขลักษณะ 6.ส่งเสริม อปท. ในการจัดบริการมูลฝอย ติดเชื้อที่ได้มาตรฐาน 1.สนับสนุนการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ 2. รพศ./รพท./รพช. มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ประเด็น 1. มูลฝอยติดเชื้อ 2. มลพิษทางอากาศ 3. สิ่งปฏิกูล 4. สารเคมีอันตราย พื้นที่ดำเนินการ 1.ดำเนินการเข้มข้นในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 36 จังหวัด 2.พื้นที่ทั่วไป 76 จังหวัด Quick win 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จังหวัดสามารถวิเคราะห์ศักยภาพตนเองในการจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพและมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพร้อยละ 50 จังหวัดมีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่สำคัญและมีการผลักดันสู่กระบวนการโดยกลไก อสธจ.ร้อยละ 50 1.จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ครอบคลุม 5 เรื่อง ร้อยละ 50 2. ได้(ร่าง)แบบระบบบำบัด น้ำเสียที่เหมาะสม 1.จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 2. รพ.มีการจัดการระบบบำบัดน้ำเสียอย่างประสิทธิภาพ ร้อยละ 65
5
1. ระบบข้อมูลสถานการณ์และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
กรอบการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค 1. ระบบข้อมูลสถานการณ์และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จัดทำฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ พัฒนาศักยภาพ จนท.สธ. /ท้องถิ่นในการเฝ้า ระวังพื้นที่เสี่ยง เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ สื่อสารเตือนภัยผลกระทบต่อสุขภาพ
6
กรอบแนวทางในการจัดทำรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไป • ข้อมูลประชากร o ข้อมูลประชากรระดับจังหวัด (ทั้งจังหวัด) o ข้อมูลประชากรพื้นที่เสี่ยง • ลักษณะของพื้นที่ บทที่ 2 สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.1 ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม 1) ข้อมูลแหล่งกำเนิดมลพิษและชนิดมลพิษที่อาจเกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิด เช่น สารหนู แคดเมี่ยม ปรอท ไซยาไนด์ ตะกั่ว ฯลฯ 2) ข้อมูลผลการตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เช่น ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ หรือจากกรมอนามัย หรือข้อมูลจากการเก็บตัวอย่างวิเคราะห์ 3) ข้อมูลขอบเขตการปนเปื้อน และตัวกลาง (ดิน น้ำ อาหาร อากาศ) ที่ปนเปื้อนหรือที่อาจปนเปื้อน 2.2 ข้อมูลด้านสุขภาพ 1) ข้อมูลด้านสุขภาพ เช่น ผลการตรวจคัดกรองสุขภาพ ผลการตรวจทางชีวภาพ ข้อมูลการประเมินสุขภาพจากแบบสอบถาม การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง ฯลฯ 2) ข้อมูลโรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น ข้อมูลที่ได้จาก ICD10 หรือ ข้อมูล 43 แฟ้มของ สนย.
7
กรอบแนวทางในการจัดทำรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
บทที่ 3 การวิเคราะห์และเชื่อมโยงข้อมูล เป็นการนำข้อมูลทาง “ปัญหาสิ่งแวดล้อม” และ “ผลกระทบต่อสุขภาพ” มาทำการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจะสามารถบอกความชุกหรืออุบัติการณ์ของโรค แนวโน้มของโรค กลุ่มเสี่ยง และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อมกับปัญหาสุขภาพและการเกิดโรคได้ โดยวิธีการต่างๆ เช่น การทำแผนที่เชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา หลักสถิติอื่นๆ เป็นต้น หมายเหตุ: กรณีที่ 1) ถ้ามีข้อมูลเพียงพอและสามารถวิเคราะห์เชื่อมโยงได้ ก็ให้จัดทำการเชื่อมโยงข้อมูลที่มีเพื่อแสดงปัญหาที่เกิดขึ้นได้ กรณีที่ 2) หากยังไม่สามารถทำได้ก็ไม่ต้องทำรายงาน ในบทที่ 3 การวิเคราะห์และเชื่อมโยงข้อมูล โดยให้บทที่ 4 เป็นบทที่ 3 แทน บทที่ 4 การจัดการปัญหา การสื่อสารความเสี่ยง และให้ความรู้ เป็นการสรุปกิจกรรมที่ได้การดำเนินการแก้ไขปัญหาจากมลพิษสิ่งแวดล้อม และกิจกรรมการสื่อสารความเสี่ยง และให้ความรู้ของหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ ในปีงบประมาณ 2559 บทที่ 5 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
8
ตัวอย่างการจัดทำรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ที่มา : สำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดสระบุรี(2558)
9
กรอบการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค (ต่อ)
2. การดูแลสุขภาพประชาชนผู้ได้รับ ผลกระทบ สสจ. สนับสนุนการจัดบริการเวชกรรม สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. มีการจัดบริการ เวชกรรมสิ่งแวดล้อม
10
การดำเนินงานด้านเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
แผนบูรณาการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม แผนการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในประชาชนและคนทำงาน คัดแยกและรีไซเคิลขยะ พื้นที่ 8 จังหวัด แผนคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่เสี่ยง 36 จังหวัด + 1 จังหวัด (Hot Zone) พัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพประชาชน จากมลพิษสิ่งแวดล้อม (10 จังหวัด) พัฒนาการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการสุขภาพ (รพ. 11 แห่ง) เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการสัมผัสสารตะกั่วในเด็กปฐมวัย ขยะทั่วไป ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ ขยะติดเชื้อ สารเคมีและวัตถุอันตราย มลพิษทางอากาศ สิ่งที่อาจเป็นประเด็นปัญหาในอนาคต สมุทรปราการนครศรีธรรมราชกาญจนบุรี, อยุธยา, ขอนแก่น บุรีรัมย์, กาฬสินธุ์, อุบลราชธานี อุบลราชธานี (Pilot) เหมืองเก่า (ตะกั่ว สารหนู) หมอกควัน นิคมอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเกษตร ประมง การผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิก อุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องจักรและชิ้นส่วน เป็นต้น เหมืองหิน และโรงโม่หิน เขตเศรษฐกิจ พิเศษ เหมืองโปแตซ เหมืองสังกะสี โรงไฟฟ้าถ่านหิน เหมืองทองคำ โรงไฟฟ้าชีวมวล พื้นที่ 10 จังหวัดเป้าหมาย : ตาก ตราด สระแก้ว มุกดาหาร สงขลา เชียงราย กาญจนบุรี หนองคาย นครพนม และ นราธิวาส ขยะฯ เฝ้าระวังตะกั่ว ในเด็ก พัฒนากลไกการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ( ปรับแก้ไข หลังประชุมกลุ่ม เมื่อ 26 ตุลาคม 2558 )
11
การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Medicine Service)
กิจกรรมที่ดำเนินงานโดยบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากสิ่งแวดล้อมหรืออุบัติภัยฉุกเฉินได้รับการดูแลสุขภาพ มีการจัดบริการทั้งเชิงรุกและเชิงรับ ที่มุ่งเน้นด้านการป้องกัน โรคจากสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย
12
การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
เชิงรุก 1. ประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 2. ตรวจคัดกรองสุขภาพในชุมชน 3. การให้ความรู้และสุขศึกษา 4. การร่วมทีมสอบสวนโรค เชิงรับ 1. ตรวจคัดกรองสุขภาพ 2. วินิจฉัย รักษา ฟื้นฟูสุขภาพ 3. ส่งเสริมและป้องกันโรคจากสิ่งแวดล้อม โดยให้สุขศึกษา คำแนะนำ/สื่อสารความเสี่ยง 4. ร่วมในการสนับสนุนเพื่อแก้ไขปัญหา การเยียวยา
13
ระบบการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนกลาง คณะกรรมการพัฒนาและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม รวบรวม + ส่งรายงานสถานการณ์ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ กรมควบคุมโรค รวบรวม + ส่งรายงานสถานการณ์ สคร. ศอ. เขตสุขภาพ เป็นทีมเลขานุการฯ คณะทำงานติดตามการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง รายเขตฯ รวบรวม + ส่งรายงานสถานการณ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รพศ./รพท. - รวบรวมข้อมูล ด้าน สวล. + สุขภาพ - มีระบบการรวบรวมข้อมูล และเก็บข้อมูล - จัดทำรายงานสถานการณ์มลพิษสิ่งแวดล้อมและสุขภาพรายจังหวัด - สนับสนุนการดำเนินงาน ติดตาม การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เป็น Env-Occ Unit : เป็นศูนย์เชี่ยวชาญฯ ให้บริการ + มีฐานข้อมูลสุขภาพ อปท. รพช. - สนับสนุนการดำเนินงาน และดำเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ เป็น Env-Occ Center : เป็นศูนย์บริการฯ ให้บริการ + มีฐานข้อมูลสุขภาพ ระดับ อ. รพ.สต. จัดตั้งคณะกรรมการ อสธจ. จัดทำรายงานสถานการณ์ฯ เป็น Env-Occ Clinic : เป็นหน่วยบริการฯ ให้บริการ + มีฐานข้อมูลสุขภาพ ระดับพื้นที่ + การติดตาม/ค้นหาความเสี่ยง
14
การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559
ภายใต้แผนบูรณาการด้านการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม สำนัก ฯ 1. เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยฯ : แก้ไขปัญหา, พัฒนาเครือข่าย, พัฒนาระบบคุณภาพ Lab 2. พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม : พัฒนามาตรฐานบริการฯ, สนับสนุนหน่วยบริการ สธ. สคร 1. พัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อม - พัฒนาศักยภาพเครือข่ายในพื้นที่, สนับสนุนข้อมูลกำหนดกลุ่มเป้าหมาย, ประเมินความเสี่ยง, ร่วมพัฒนาระบบ เฝ้าระวังสื่อสารเตือนภัยและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน, ติดตาม สนับสนุนและสื่อสารความเสี่ยง และสรุปสถานการณ์ และผลงานระดับ สคร. 2. พัฒนาระบบดูแลสุขภาพ - พัฒนาศักยภาพเครือข่ายจัดบริการฯ, ร่วมพัฒนาองค์ความรู้และรูปแบบดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับพื้นที่, วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัญหาและจัดทำสรุปสถานการณ์และผล, ร่วมพัฒนาระบบการบริหารจัดการและเตรียม ความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน, สนับสนุนติดตาม ประเมินผลงานระดับจังหวัด สสจ./รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ค้นหาระบุสิ่งคุกคาม 2. ประเมินความเสี่ยงทาง สวล. ที่มีผลต่อสุขภาพ 3. วิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำสถานการณ์ 4. สื่อสารความเสี่ยง 5. จัดทำทะเบียนและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง 6. การวินิจฉัย รักษา ฟื้นฟูสุขภาพ 7. จัดการปัญหาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 8. สรุปสถานการณ์และผลงานระดับจังหวัด
15
ตัวชี้วัดตัวที่ 17 ของกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้นไป
16
เกณฑ์การประเมินผลในแต่ละประเด็น
มี 5 ประเด็น (มีคะแนน 500 คะแนน) 1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวัง ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (100 คะแนน) 2. มีกลไกของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) (100 คะแนน) 3. มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ มาตรฐาน (100 คะแนน) 4. จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตาม กฎหมาย (100 คะแนน) 5. มีการส่งเสริมให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้ มาตรฐาน ใน 36 จังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ยง
17
เกณฑ์การประเมินผลภาพรวม
วัดผลการดำเนินงานในภาพรวม ทั้ง 5 ประเด็น (ประเด็นละ 100 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 500 คะแนน) โดยแบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้ ระดับพื้นฐาน ได้คะแนน คะแนน (>50%) ระดับดี ได้คะแนน คะแนน (>60%) ระดับดีมาก ได้คะแนน คะแนน (>70%) ระดับดีเด่น ได้คะแนน 400 คะแนน ขึ้นไป (>80%)
18
ประเด็นที่ 5. มีการส่งเสริมให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน ใน 36 จังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ยง (100 คะแนน) แนวทางการประเมิน คะแนน 5.1 สนับสนุนข้อมูลสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพให้กับหน่วยบริการสุขภาพ 10 5.2 สนับสนุนให้หน่วยบริการสุขภาพมีการสำรวจทางสุขภาพ หรือ ตรวจคัดกรองสุขภาพตามความเสี่ยง หรือ เฝ้าระวังสุขภาพตามความจำเป็น 20 5.3 บริหารจัดการให้มีการสื่อสารความเสี่ยงแก่ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.4 ประสาน สนับสนุนให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมใน รพศ./รพท. รพช. และ รพ.สต. ในพื้นที่เสี่ยง 25 5.5 ประสาน สนับสนุน ติดตาม ให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมใน รพศ./รพท. ผ่านเกณฑ์ฯ ในระดับขั้นเริ่มต้นพัฒนา (ขั้นพื้นฐาน)
19
กรอบประเด็นการตรวจราชการ ปี 2559
นโยบายรัฐบาล นโยบาย รมว.สธ. แผนบูรณาการ ประเทศ แผนบูรณาการกระทรวงฯ กรอบประเด็นการตรวจราชการ ปี 2559 คณะ 1 คณะ 2 คณะ 3 คณะ 4 คณะ 5 การพัฒนาสุขภาพ ตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค การพัฒนาระบบบริการ การพัฒนาระบบบริหารจัดการ การพัฒนาระบบสนับสนุนงานด้านสุขภาพ การตรวจราชการแบบบูรณาการ 1. การพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัย 1) กลุ่มสตรีและเด็ก ปฐมวัย 2) กลุ่มเด็กวัยเรียน 3) กลุ่มเด็กวัยรุ่น 4) กลุ่มวัยทำงาน 5) กลุ่มผุ้สูงอายุและ คนพิการ 2. ระบบควบคุมโรค การพัฒนา Service Plan 12 สาขา 1. การบริหารการเงิน การคลัง 2. ยาและเวชภัณฑ์ 3. การพัฒนาบุคลากร 4. ธรรมาภิบาล 1. ระบบการคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ 2. ด้านสิ่งแวดล้อมและ - จว.มีระบบกลไกจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ.ฯ และมูลฝอยทั่วไปของ อปท. 1. การจัดการขยะ มูลฝอยและ สิ่งแวดล้อม 2. มาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจ กรมวิชาการ และหน่วยงาน ใน สป. การขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ
20
แผนงาน/โครงการ ภายใต้แผนบูรณาการงบประมาณด้านการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม
แผนบูรณาการงบประมาณ พ.ศ การจัดการขยะ จัดทำแผน มาตรฐาน มาตรการ เกณฑ์การปฏิบัติ กฎหมาย ทส. วท. สธ. เพิ่มศักยภาพการเก็บและกำจัด ส่งเสริมการลดและการใช้ประโยชน์ขยะ รวมทั้งแปรรูปเพื่อผลิตพลังงาน พน. ศธ. กำกับดูแลและบังคับใช้กฎหมาย รวมทั้งการลักลอบทิ้ง รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างจิตสำนึก อก. เสริมสร้างศักยภาพ และถ่ายทอดองค์ความรู้ 7 ลบ. ลบ. ลบ. กรมควบคุมโรค (สำนัก Env. - Occ.) ผลผลิต : เฝ้าระวังสุขภาพเชิงรุก บริการอาชีวอนามัย เวชกรรมสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพในพื้นที่เสี่ยง กิจกรรม : แก้ไขปัญหามลพิษที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม (เป้าหมาย 1 ระบบ) สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผลผลิต : ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรม สุขภาพที่ถูกต้อง กิจกรรม : สนับสนุนการบริหารจัดการขยะ และสิ่งแวดล้อม ในโรงพยาบาล (เป้าหมาย 12 เขต) กรมอนามัย ผลผลิต : พัฒนาและบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและขยะแบบบูรณาการเพื่อสุขภาพที่เหมาะสม กิจกรรม : 1. ขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและขยะแบบบูรณาการที่เหมาะสม (เป้าหมาย 4 โครงการ) 2. กำกับ ติดตาม ประเมินผล และเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและขยะแบบบูรณาการที่เหมาะสม (เป้าหมาย 1 โครงการ) 20
21
คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณาการร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
ปีงบประมาณ 2559 กรอบแนวทาง การตรวจราชการแบบบูรณาการ ปี 2559 1. การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม 2. มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ 3. การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง * ตรวจฯ ตามแผนงาน/โครงการ/ผลผลิตที่ระบุในเอกสารขาวคาดแกง สงป. * จว. ประเมินตนเองแบบ PPR 1 - ครั้งที่ 1 สุ่มตรวจฯ เขตละ 2 จว. (ตามเขตตรวจสำนักนายกฯ) - ครั้งที่ 2 ตรวจตามประเด็นครั้งที่ 1 - สสจ. รวบรวมข้อมูลส่งเขต/สำนักตรวจฯ รวบรวมให้กรม คร. และกรม อ. (ทาง ) 21
22
ประเด็นที่ ๑ มีระบบกำจัดมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนย์รวมจังหวัดครอบคลุมพื้นที่เขตสุขภาพ ๑๒ เขต ทั่วประเทศ (เขตละ ๑ จังหวัด) (ตาม พรบ.งบประมาณ ฯ) การจัดการมูลฝอยแบบ ศูนย์รวมจังหวัด เขตสุขภาพ เก็บข้อมูล หน่วยบริการมีระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตั้งแต่การคัดแยกที่แหล่งกำเนิด รวบรวม ขนย้ายไปรอกำจัดที่เรือนพักมูลฝอยติดเชื้อก่อนทำการกำจัด และมีระบบขนส่งและรวบรวมจากหน่วยบริการในระดับ CUP (จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล PCU และศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง ภายในเครือข่าย มาโรงพยาบาลแม่ข่ายเพื่อกำจัด) หรือ ขนส่งและรวบรวมจากทุกหน่วยบริการเพื่อกำจัดในระดับจังหวัด ที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ เป็นแนวทางเดียวกันภายในจังหวัด -คัดเลือก -สนับสนุน ฐานข้อมูล ๑๒ จังหวัด จัดทำแผนยุทธศาสตร์ -สนับสนุน -พี่เลี้ยง มีระบบขนส่ง/รวบรวมเพื่อกำจัดในระดับ cup/จังหวัด สบรส./กรม มีระบบติดตามตรวจสอบ
23
ประเด็นที่ ๒ มีการใช้(เบิกจ่าย) และติดตามกำกับการใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
โครงการย่อยที่ ๑ พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ๓๖ จังหวัด งบประมาณรวม ๗,๐๖๕,๐๗๐ บาท พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสารเคมีสารอันตราย 12 จังหวัด - เหมืองทอง จังหวัด ละ 480,600 บ. - เหมืองเก่าจังหวัดละ 201,600 บ. - เหมืองโปแตสจังหวัดละ 76,000บ. - ขยะอิเล็กทรอนิกส์ จังหวัดละ62,670บ. พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ 14 จังหวัด - ฝุ่นหน้าพระลาน จังหวัดละ 117,240 บาท - หมอกควันภาคเหนือและภาคใต้ จังหวัดละ 63,600 บาท - โรงไฟฟ้า ชีวมวล จังหวัดละ 47,600 บาท) พื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหาสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ 12 จังหวัด - พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดละ 32,380 บาท - นิคมอุตสาหกรรม จังหวัดละ 88,000 บาท - โรงไฟฟ้าถ่านหิน 12 จังหวัดๆละ 36,640 บาท) การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 36 จังหวัด - จังหวัดๆ ละ 67,500 บาท (สำหรับ โรงพยาบาล)
24
โครงการย่อยที่ ๒ พื้นที่ทั่วไป (76 จังหวัด) (งบประมาณ 15,926,730บาท)
- ข้อมูลสถานการณ์ และการเฝ้าระวัง (งบประมาณ 2,090,000 บาท) จังหวัดละ 27,500 บาท - การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (งบประมาณ 1,133,920 บ.) จังหวัดละ 14,920 บาท - การจัดการ สิ่งปฏิกูล (งบประมาณ 1,406,720 บาท) จังหวัดละ 18,059 บาท - การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท .(EHA) (งบประมาณ 3,148,890 บาท) จังหวัดละ 41,433 บาท - กลไกคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) (งบประมาณ 7,387,200 บาท) จังหวัดละ 97,200 บาท - การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม งบประมาณ 760,000 บาท จังหวัดละ 10,000 บาท
25
โครงการย่อยที่ ๓. พัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
ในสถานบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานส่วนกลาง - โครงการพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงพยาบาล งบประมาณ 1,229,000บาท -ค่าบริหารจัดการ 150,000 บาท สนับสนุนการพัฒนาระบบบริหารจัดการ มูลฝอยติดเชื้อแบบศูนย์รวม 12 เขต งบประมาณ 2,40,000 บาท เขตละ ๑ จังหวัด ๆละ 200,000 บาท ค่าจ้างเขียนแบบระบบบำบัดน้ำเสีย งบประมาณ 2,700,000 บาท
26
คณะกรรมการติดตามกำกับงบฯ คณะตรวจบูรณาการ
การติดตามตัวชี้วัด คณะกรรมการติดตามกำกับงบฯ คณะตรวจบูรณาการ การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน การติดตามงบประมาณ - กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ - สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม - สำนักสุขาภิบาลอาหาร - ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข - สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - สำนักบริหารการสาธารณสุข สบรส. แบบฟอร์มรายงานการเบิกจ่ายงบฯ สรุปรายงาน
27
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.