งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Drug-Drug Interaction

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Drug-Drug Interaction"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Drug-Drug Interaction
ภญ.ปิยพร ชูชีพ กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.สวนสราญรมย์

2 Drug-Drug interaction
อันตรกิริยาระหว่างยา เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ระดับยาหรือพารามิเตอร์ทางเภสัชจลนศาสตร์ของยา หรือฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยาตัวหนึ่งในร่างกาย เปลี่ยนแปลงไปเมื่อได้รับยาตัวอื่นร่วมด้วย ยาที่ได้รับผลกระทบจากอันตรกิริยาระหว่างยา เรียกว่า “object drug” ยาที่เป็นสาเหตุของผลกระทบนั้นเรียกว่า “precipitant drug”

3 Drug-Drug interaction
เป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งเกี่ยวกับความ ปลอดภัยในด้านยา การศึกษาพบว่าร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่เข้ารับการ รักษาใน รพ. จะเกิด DI ขึ้นจนเกิดความเป็นพิษ หรือผลข้างเคียงจากยา นอกจากนั้นอาจทำให้ต้องเพิ่มค่าใช้จ่าย

4 Definition Onset ระยะเวลาที่เริ่มปรากฏผลทางคลินิก
Rapid ปฏิกิริยาเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง Delayed ปฏิกิริยาเกิดขึ้นใช้เวลานานเป็นวัน หรือสัปดาห์

5 Definition Severity ระดับความรุนแรง
Major ผลที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตหรือ เกิดความเสียหายอย่างถาวร Moderate ผลที่เกิดขึ้นทำให้ผู้ป่วยมีอาการเลว ลง  ต้องการการรักษาเพิ่มขึ้น  อยู่ใน รพ. นานขึ้น Minor ผลที่เกิดขึ้นน้อย  ไม่จำเป็นต้องให้การรักษา

6 Definition Documentation แบ่งเป็น 5 ระดับ well controlled studies
1. Established  proven to occur in well controlled studies 2. Probable  very likely, but not proven clinically 3. Suspected  may occur, some good data, needs more study    

7 Definition Documentation แบ่งเป็น 5 ระดับ
4. Possible   could occur, but data are very limited 5. Unlikely   doubtful, no good evidence of an altered clinical effect

8 Definition ระดับนัยสำคัญ Severity Documentation 1 Major
suspected or > 2 Moderate 3 Minor 4 Major / Moderate possible 5 Any unlikely

9 Drug-Drug interaction
1. Propranolol – CPZ, thioridazine 2. SRI – Selegiline 3. Lithium – Haloperidol 4. Thioridazine – Fluoxetine 5. Thioridazine - Fluvoxamine Significance: 1

10 Drug-Drug interaction
6. Lithium – ACE Inhibitor 7. Lithium – HCTZ 8. Clozapine - SRI Significance: 2

11 1. Propranolol – CPZ, Thioridazine
Onset: Delayed Severity: Major Mechanism: - CPZ จะยับยั้ง first-pass hepatic metabolism ของ propranolol และเพิ่มฤทธิ์ของยา propranolol

12 1. Propranolol – CPZ, Thioridazine
Mechanism: - Propranolol ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลเพิ่มความเสี่ยง cardiac arrhythmias Management: - ปรับลดขนาดยาเมื่อใช้ร่วมกัน - ห้ามใช้ thioridazine ร่วมกับ propranolol Documentation: Proable

13 2. SRI – Selegiline Serotonin Reuptake Inhibitor:
fluoxetine, fluvoxamine, sertraline, venlafaxine, paroxetine Onset: Rapid Severity: Major

14 2. SRI – Selegiline Mechanism: excessive accumulation
of serotonin ผลทำให้เกิด serotonin syndrome (CNS irritability, shivering, myoclonus, altered consciousness, hypertension, hyperreflexia, diaphoresis) Documentation: Proable

15 2. SRI – Selegiline Management: ไม่ควรใช้ร่วมกัน หากใช้ร่วมกันควร
- หยุดยา venlafaxine > 1 wk - หยุดยา fluvoxamine, paroxetine, sertraline > 2 wk - หยุดยา fluoxetine > 5 wk - หลังจากหยุดยา selegiline > 2 wk จึงเริ่มให้ SRI

16 3. Lithium – Haloperidol Onset: Delayed Severity: Major
Mechanism: unknown ผล alteration in consciousness, encephalopathy, extrapyramidal effects, fever, weakness, brain damage and seizure

17 3. Lithium – Haloperidol Management: ควรติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
โดยเฉพาะในช่วง 3 สัปดาห์แรกของการรักษา Documentation: Probable Significance: 1

18 4. Thioridazine – Fluoxetine
Onset: Delayed Severity: Major Mechanism: fluoxetine ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลทำให้ ระดับยา thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่ม ความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง QT prolongation, torsades de pointes, cardiac arrest

19 4. Thioridazine – Fluoxetine
Management: thioridazine ห้ามใช้ใน ผู้ป่วยที่ได้รับยา fluoxetine Documentation: Proable Significance: 1

20 5. Thioridazine – Fluvoxamine
Onset: Delayed Severity: Major Mechanism: ยา fluvoxamine ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลทำ ให้ระดับยา thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias

21 5. Thioridazine – Fluvoxamine
Management: thioridazine ห้ามใช้ใน ผู้ป่วยที่ได้รับยา fluvoxamine Documentation: Proable Significance: 1

22 6. Lithium – ACE inhibitors (Enalapril, Perindopril, Lisinopril)
Onset: Delayed Severity: Moderate Mechanism: - ACE inhibitors จะลด glomerular perfusion pressure ทำให้เพิ่มการดูดซึม กลับของ lithium ที่ท่อไต ผลทำให้ระดับยา lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น

23 6. Lithium – ACE inhibitors (Enalapril, Perindopril, Lisinopril)
Mechanism: - ACE inhibitors ทำให้ระดับ aldosterone ลดลง Na+ depletion ทำให้เกิดการคั่งของ lithium - ACE inhibitors ลด Angiotensin II dehydration impairment of lithium excretion เพิ่ม blood lithium

24 6. Lithium – ACE inhibitors (Enalapril, Perindopril, Lisinopril)
Management: ปรับลดขนาดยา lithium, ติดตามวัดระดับยา lithium ในเลือด หรือ เฝ้าระวังอาการพิษจากยา lithium (ท้องเสีย, อ่อนเพลีย, เดินเซ, กล้ามเนื้อกระตุก, ตามัว, สับสน, ชัก, ไม่รู้สึกตัว) Significance: 2

25 7. Lithium – HCTZ (Hydrochlorothiazide)
Onset: Delayed Severity: Moderate Mechanism: ยา HCTZ จะลดการกำจัดยา lithium ทางไต ผลทำให้ระดับยา lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น

26 7. Lithium – HCTZ (Hydrochlorothiazide)
Management: ปรับลดขนาดยา lithium, ติดตามวัดระดับยา lithium ในเลือด หรือ เฝ้าระวังอาการพิษจากยา lithium Significance: 2

27 8. Clozapine – SRI SRI: fluoxetine, fluvoxamine,
sertraline, citalopram Onset: Delayed Severity: Moderate Documentation: Established

28 8. Clozapine – SRI Mechanism: SRI ยับยั้ง clozapine
hepatic metabolism ผลทำให้ระดับ clozapine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น Management: ติดตามระดับยา clozapine หรือเฝ้าระวังอาการทางคลินิก ปรับลดขนาดยา clozapine ระวัง clozapine toxicity (sedation, seizures, hypotension)

29 แนวทางปฏิบัติเมื่อพบ DI
เภสัชกรตรวจพบคู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาระหว่างกัน ปรึกษาแพทย์ทบทวนการสั่งใช้ยา จ่ายยาตามคำสั่งใช้ยา

30 เรียนแพทย์ทราบ เนื่องจากยาที่ท่านสั่งจ่าย มีคู่ยาที่เป็น Drug interaction
Interaction Drugs  Propranolol – CPZ, Thioridazine*  SRI – Selegiline  Lithium – Haloperidol  Lithium – ACE inhibitor  Lithium – HCTZ  Clozapine – SRI  Thioridazine – Fluoxetine*  Thioridazine – Fluvoxamine* Doctor’s management  งดยา  เปลี่ยนยา  ปรับลดขนาดยา  ยืนยันการใช้ยาคู่เดิม เหตุผล (โปรดระบุ) ลายเซ็นแพทย์ Pharmacist’ Intervention เภสัชกร วันที่ โทร 2057

31 1. Propranolol – CPZ, Thioridazine (Sig. 1)
- CPZ จะยับยั้ง first-pass hepatic metabolism ของ propranolol และเพิ่มฤทธิ์ของยา propranolol ควรปรับลดขนาดยาเมื่อใช้ร่วมกัน - Propranolol ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลเพิ่มความเสี่ยง cardiac arrhythmias ห้ามใช้ร่วมกัน 2. SRI – Selegiline (Sig. 1) - SRI: fluoxetine, fluvoxamine, sertraline, venlafaxine, paroxetine - Possibly rapid, excessive accumulation of serotonin ผลทำให้เกิด serotonin syndrome (CNS irritability, shivering, myoclonus, altered consciousness) ไม่ควรใช้ร่วมกัน หากใช้ยาตัวใดตัวหนึ่งควรมีระยะหยุดยาที่เหมาะสม 3. Lithium – Haloperidol (Sig. 1) - กลไก unknown ผล alteration in consciousness, encephalopathy, extrapyramidal effects, fever, leukocytosis and increase serum enzymes ควรติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในช่วง 3 สัปดาห์แรกของการรักษา 4. Thioridazine – Fluoxetine (Sig. 1) - fluoxetine ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลทำให้ระดับยา thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง torsades de pointes ห้ามใช้ยา thioridazine ในผู้ป่วยที่ได้รับยา fluoxetine 5. Thioridazine – Fluvoxamine (Sig. 1) - fluvoxamine ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลทำให้ระดับยา thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias ห้ามใช้ยา thioridazine ในผู้ป่วยที่ได้รับยา fluvoxamine 6. Lithium – ACE inhibitors (Enalapril, Perindopril, Lisinopril) (Sig. 2) - ACE inhibitors จะลด glomerular perfusion pressure ทำให้เพิ่มการดูดซึมกลับของ lithium ที่ท่อไต ผลทำให้ระดับยา lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ปรับลดขนาดยา lithium, ติดตามวัดระดับยา lithium ในเลือด หรือ เฝ้าระวังอาการพิษจากยา lithium 7. Lithium – HCTZ (Hydrochlorothiazide) (Sig. 2) - ยา HCTZ จะลดการกำจัดยา lithium ทางไต ผลทำให้ระดับยา lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ปรับลดขนาดยา lithium,ติดตามวัดระดับยา lithium ในเลือด หรือ เฝ้าระวังอาการพิษจากยา lithium 8. Clozapine – SRI (Sig. 2) - SRI (fluoxetine, fluvoxamine, sertraline) ยับยั้ง clozapine hepatic metabolism ผลทำให้ระดับ clozapine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ติดตามวัดระดับยา clozapine ในเลือด หรือเฝ้าระวังอาการทางคลินิกของผู้ป่วย ถ้าจำเป็นอาจต้องปรับลดขนาดยา clozapine

32


ดาวน์โหลด ppt Drug-Drug Interaction

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google