ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยWidyawati Setiawan ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58
2
เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ (13’s)
1 Poliomyelitis รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40) 2 Rabies ปี 63 ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 3 Leprosy ปี 63 ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ ไม่เกิน 100 ราย 4 Malaria ปี % อำเภอทั่วประเทศ No ผป.มาลาเรีย 5 AIDS ปี 73 ยุติปัญหาเอดส์ : No เด็กคลอดมาติดเชื้อ & ผู้ใหญ่ติดเชื้อรายใหม่ ไม่เกินปีละ 1,000 ราย 6 TB ปี 62 ผป.วัณโรคไม่เกิน 136 : แสน ปชก. โรคติดต่อสำคัญ (6’s) โรคไม่ติดต่อ 7 อุบัติเหตุจราจร ปี 63 ควบคุมอัตราตาย 50% จากปี 54 8 NCD ปี 68 ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs ไม่เกิน 12% (2’s) แอลกอฮอล์ ปี 68 การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (total APC) ไม่เกิน 6.4 ลิตร/คน/ปี 10 ยาสูบ ปี 68 ความชุกของการบริโภคยาสูบ ไม่เกิน 16.8 % 11 HT ปี 68 ภาวะความดันโลหิตสูง ไม่เกิน 16.7 % 12 DM ปี 68 ภาวะเบาหวาน ไม่เกิน 6.9 % ควบคุมปัจจัยเสี่ยง (4’s) Env-Occ 13 เกษตรกรรม ปี 63 อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร ไม่เกิน 9 : แสน ปชก. (1’s)
3
เป้าหมาย 59 Malaria รร. ตชด.196 รร. ด่าน : IHR2005 23 แห่ง
หนอนพยาธิ แผนพัฒนาเด็ก&เยาวชนในถิ่นทุรกันดาร 825 รร.+ภูฟ้า 36 ชุมชน 1.พระราชดำริ ด่าน : IHR แห่ง จังหวัดชายแดน : IHR2005 & GHSA 100 จ.เป้าหมาย Twin cities จ.ชายแดนตามข้อกำหนด Twin cities ไม่น้อยกว่า 50 % คลินิก Travel medicine 1 คลินิกต้นแบบ One Health 10 จ.เป้าหมาย 2.เขตเศรษฐกิจพิเศษ (บูรณาการชาติ) ปฐมภูมิ ศูนย์เด็กเล็ก & รร.อนุบาลปลอดโรค 30 % วัยเรียน จมน้ำ : ทีมก่อการดี (Merit Maker) อ.ละ 1 ทีม ใน พท.เสี่ยง อาหาร&น้ำ : พัฒนาการตรวจจับ/เฝ้าระวังใน รร. สพฐ. 1,012 แห่ง วัยรุ่น ALC : ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มใน ปชก ปี ไม่เกิน 13 % ยาสูบ : อัตราการบริโภคยาสูบในวัยรุ่น (15-18 ปี) ไม่เกิน 10 % AIDs : 6 เครือข่ายที่ร่วมมือ (วัยรุ่น/เยาวชน/กลุ่มใช้ยาเสพติดชนิดฉีด) วัยทำงาน CVD & CKD : องค์กรหัวใจดี 15 จ. คลินิก NCD คุณภาพ : Pt รายใหม่ IHD ลดลง : Pt DM&HT ควบคุมน้ำตาล/ความดัน ได้ดี อุบัติเหตุ : ด่านชุมชนทุก อ.ใน พท.เสี่ยง/ทีมสอบสวนการบาดเจ็บ &Inj.ทางถนน Env-Occ : เกษตรกรมีพฤติกรรมดีขึ้นไม่น้อยกว่า 70 % : หน่วยบริการปฐมภูมิที่มีการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชน เพิ่มขึ้น 10 % 3.กลุ่มวัย (บูรณาการชาติ)
4
เป้าหมาย 59 5.การบริหารจัดการขยะและสวล. (บูรณาการชาติ)
TB : Success rate (New M+/new M/ Relapse/ EP ไม่ต่ำกว่า 85 % Malaria : อำเภอไม่มีการแพร่เชื้อ AIDs : อัตราป่วยลดลง : ผู้ติดเชื้อ HIV ได้รับยารักษาด้วยยาต้านไวรัสเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 4. งานป้องกันควบคุม โรคติดต่อ 5.การบริหารจัดการขยะและสวล. (บูรณาการชาติ) 36 จ. มีระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษ สวล. 80% ขยะ 8 จ. , หมอกควัน 9 จ.ภาคเหนือ, ฝุ่นหน้าพระลาน จ.สระบุรี 6 พัฒนากำลังคน ด้านระบาด พัฒนานักระบาดวิทยาระดับกลาง ไม่น้อยกว่า 50 คน 7.ขับเคลื่อน พรบ.โรคติดต่อ 58 ร่างอนุบัญญัติ 23 ฉบับ คกก.โรคติดต่อจังหวัด 8. ยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ (บูรณาการชาติ) EOC ทุกเขต/จ. สามารถควบคุมโรคติดต่ออันตรายไม่ให้แพร่ระบาดมากกว่า generation ที่ 2 ได้ ระบบเฝ้าระวัง &ฐานข้อมูล 5 กลุ่มโรค 5 มิติ 12 จ.เป้าหมาย
5
การพัฒนาระบบควบคุมโรค ปี 59 ภายใต้กรอบ IHR/GHSA
ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ : CD, NCD, AIDS Env-Occ, Injury) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนา จนท.ทุกระดับ ด้านระบาดวิทยาให้สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังได้ ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน คกก.โรคติดต่อจังหวัด พัฒนา ศ.ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้าน สธ. (Emergency Operations Center : EOC) ทีมติดตามข่าวสาร&ประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพ (Situation Awareness Team : SAT) พัฒนาหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค (SRRT) กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.48 พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. 58 คกก.โรคติดต่อแห่งชาติ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ระบบควบคุมโรค&ภัย ควบคุมโรค&ภัยในพื้นที่ & กลุ่มเป้าหมายพิเศษ เขต/จ./อ. ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค 5 ระบบ => CD NCD Env. Occ. Injury HIV/AIDS 5 มิติ => อัตราป่วย/ตาย พฤติกรรมเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง เหตุการณ์ผิดปกติ และมาตรการสำคัญ ครอบคลุมถึง ASEAN Migrants ช่องทางเข้าออกประเทศ (67 แห่ง) คทง.ช่องทาง ระบบเฝ้าระวังช่องทางเข้าออก ระหว่างประเทศ ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะช่องทางเข้าออก สุขภาวะชายแดน (31 จังหวัด) พัฒนา จ.สุขภาวะชายแดนตามกรอบ IHR ประชากรต่างด้าว พัฒนาระบบข้อมูล ปชก.ต่างด้าว เข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน หน่วยงาน : กรม คร./กรม อ./กรม ว./อย./สป.(สบรส., สนย.,กปภ.)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.