ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยEvan Stevenson ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
พอล เอเดรียน มัวริซ ดิแรก ( Paul Adrien Maurice Dirac )
2
พอล แอ็ดเรียน เมอร์ไรซ์ ดิแรก (Paul Adrien Maurice Dirac) หรือที่นักฟิสิกส์ ที่รู้จักกันในชื่อพอล ดิแรก ผู้รวมทฤษฏีควอนตัม กับทฤษฏีสัมพันธภาพพิเศษ (Special relativity) โดยเกิดสมการชื่อ Dirac's equation ซึ่งเป็นสมการ ที่สวยงามที่สุดในวิชาฟิสิกส์ พลอลเกิดที่เมือง บริสตอล ทางตอนใต้ ของประเทศอังกฤษ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2445 และเสียชีวิต ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2527 ด้วยวัย 82 ปี ที่รัฐฟอริดา สหรัฐอเมริกา
3
บริสตอล จนจบการศึกษา ได้รับเกียรตินิยม และในปี
ในปี พ.ศ.2461 พอลเข้าเรียน ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัย บริสตอล จนจบการศึกษา ได้รับเกียรตินิยม และในปี พ.ศ.2464 จึงเปลี่ยนมาเรียนด้านคณิตศาสตร์ และฟิสิกส์ ทฤษฏี จนได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 อีกเช่นกัน จนใน ปี พ.ศ.2466 ได้ศึกษาปริญญาเอก ฟิสิกส์ทฤษฏี ต่อที่ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ โดยมี ราฟ ฟาว์เลอร์ (Ralph Fowler) เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา โดย สำเร็จการศึกษา ในปี พ.ศ.2469 พร้อมทั้งได้รับตำแหน่ง Fellowship ที่ St John's College
4
ในปี พ.ศ.2473 พอล ดิแรก ได้ตีพิมพ์ตำราเกี่ยวกับวิชาฟิสิกส์ ชื่อเรื่องว่า เดอะ ปริ้นซิเพิล ออฟ ควอนตัม เม็คคานิก ( The Principle of Quantum Mechanics ) ซึ่งถือว่าเป็นคัมภีร์ไบเบิ้ล ของฟิสิกส์จนถึง ปัจจุบัน และยังได้รับตำแหน่งฟอร์โลว์ออฟ โรยัลโซไซตี้ ( Fallow of Royal Society ) สองปีต่อมายังได้ดำรงตำแหน่งลุซเอเซียน
5
โปรเฟสชั่นเนอร์ออฟแมทเดแม็ตติคอล(Lucasian Professor of Mathematical) ของมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ โดยในปีพ.ศ.2467 พอลยังได้รับรางวัล โนเบลสาขาฟิสิกส์ ร่วมกับเออวิน โชรดิงเจอร์ (Schrodinger) ด้วยผลงานการวางรากฐานวิชาควอนตัมแม็กคานิก หลังจากที่เกษียณอายุจากมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ในปีพ.ศ.2512 เขายังได้ดำรง ตำแหน่งสอนหนังสือ ที่มหาวิทยาลัยฟอริดา (Florida State University) ในเมือง แทลลาฮาสเซ่ (Tallahassee) รัฐฟาริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา จนกระทั่งเสียชีวิตในปี พ.ศ.2527
6
พอล ดิแรก มีความสนใจในเรื่องทฤษฏีควอนตัมเป็นพิเศษ รวมถึงสนใจใน คุณสมบัติความเป็นคลื่นและอนุภาคของอนุภาค จนทำให้เกิดสมการดิแรก จากสมการ นี้เองจึงเป็นที่มาของปฏิอนุภาค โดยพอลได้พบว่าอิเล็กตรอนในสมการ ดูเหมือนจะมี อยู่สองชนิด คือ ชนิดที่มีประจุ ไฟฟ้าเป็นลบ และชนิดที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก เขาจึงได้ประกาศขึ้น ในปี พ.ศ.2474 ว่า อิเล็กตรอนมีสองชนิด คือ ชนิดที่มีประจุ ไฟฟ้าเป็นลบ ที่เป็นที่รู้จักกันดี และชนิดใหม่ ที่มีประจุไฟฟ้าบวก ซึ่งหนึ่งปีต่อมาอิเล็กตรอนประจุไฟฟ้า บวกก็ถูกค้นพบขึ้นมาจริงๆ จากการทดลอง
7
นอกจากนี้เขายังมีผลงานที่สำคัญอื่นๆ อีก ดังนี้
1. Statistic mechanic of Femions – Femi- Dirac statistic ในปี พ.ศ.2469 ซึ่งเขาพบว่าอนุภาคที่มีเลขสปินครึ่ง (Fermions) สองตัวไม่สามารถมีสถานะเดียวกันได้ จึงนำไปประยุกต์ในข้ออธิบายปรากฏการณ์เคมีต่างๆ และยังมีความสำคัญในวิชา Condensed matter physics 2. Foundation of Quantum Field Theory ในปี พ.ศ.2470 ซึ่งดิแรกประยุกต์ ทฤษฏีควินตัมเข้ากับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยเป็นการวางรากฐานไปสู่ การอธิบายอนุภาคต่างๆ ด้วยสนาม (Field) ซึ่งเป็น พื้นฐานของ Quantum Field Theory 3. Relativistic equation of the electron ในปีพ.ศ.2471 ดิแรกเป็นผู้รวมทฤษฏีควอนตัม และทฤษฏีสัมพันธภาพพิเศษ (Special relativity) โดยสมการ Dirac's equation
8
4. Anti - matter Positon ในปีพ.ศ.2474 ผลพลอย
ได้จากสมการดิแรก ทำให้เขาสามารถทำนาย การ มีอยู่ของอนุภาคโพซิตรอน ซึ่งเป็นปฏิภาคอนุตรอน ของอิเล็กตรอน นอกจากทฤษฏีนี้ยังช่วยทำนายอนุภาค ของอนุภาคทุกชนิด 5. Mass renormalization and radiative reaction in electron theory ในปี พ.ศ.2481 ซึ่งเขาค้นพบว่า ปัญหาทางเทคนิคของทฤษฏี Quantum Field Theory แก้ไขได้ โดยการรวมเอาอิทธิพลของรังสีที่อนุภาคแผ่ออกมา เนื่องจากมวลของวัตถุ ซึ่งกลายเป็นรากฐานของทฤษฏี Renormalization ที่มีบทบาทสำคัญในฟิสิกส์อนุภาค
9
6. Theory of magnetic monopole ตั้งแต่ปี พ. ศ
6. Theory of magnetic monopole ตั้งแต่ปี พ.ศ พอลเป็นคนแรก ที่ศึกษาทฤษฏีของแม่เหล็กขั้วเดี่ยว (magnetic monopole) ถึงแม้ว่ายังไม่มีการยืนยันทางการทดลอง แต่แม่เหล็กขั้วเดี่ยวก็มีความสำคัญอย่างมากในวิชาฟิสิกส์สมัยใหม่อย่างมาก
10
ประวัติ ของ พอล เอเดรียน มัวริซ ดิแรก ( Paul Adrien Maurice Dirac ) จัดทำโดย นางสาว ธัญลักษณ์ อินไชย เลขที่ 21 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4.1 นำเสนอ รศ.ดร.ชยันต์ บุณยรักษ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา ปีการศึกษา 2558
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.