ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
โครงการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายระดับองค์กรและหน่วยงานลงสู่ระดับบุคคล และการประเมินผลการปฏิบัติราชการ โดย นางสาวอัญชลี สงวนพงศ์
2
ขอบเขต 1. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายระดับองค์กรและหน่วยงานลงสู่ระดับบุคคล 2. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ 3. แนวทาง / วิธีการจัดทำแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานและแบบประเมินสมรรถนะ ของข้าราชการ 4. การเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการ 5. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของ ลูกจ้างประจำ 6. แนวทาง / วิธีการจัดทำแบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของ ลูกจ้างประจำ และแบบมอบหมายงานของลูกจ้างประจำ 7. การเลื่อนค่าจ้างของลูกจ้างประจำ
3
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมชลประทาน
พ.ศ
6
(สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับองค์กร และหน่วยงานลงสู่ระดับบุคคลของกรมชลประทาน (สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล)
7
อธิบดีกรมชลประทาน รธบ. รธว. รธส. รธร. ผส.พบ.
ตัวชี้วัด สพบ ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนการปรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในกรมชลประทาน สพบ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อการปฏิบัติงาน สพบ ร้อยละความพึงพอใจของผู้บริหารต่อโครงสร้างของกรม สพบ ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริการของสำนักฯ ทางด้านการบริหารงานบุคคล สพบ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลเทียบกับแผน สพบ ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากร สพบ ร้อยละของข้าราชการในกรมที่ได้รับการพัฒนาตาม IDP สพบ ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สพบ จำนวนโครงการศึกษา วิจัยและพัฒนาที่แล้วเสร็จ สพบ ร้อยละของข้าราชการในสำนัก/กอง ที่ได้รับการพัฒนาตาม IDP สพบ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรในสำนักต่อการปฏิบัติงาน สพบ คุณภาพเว็บโซต์ของสำนัก/กอง สพบ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนการดำเนินการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคล ผส.พบ. เป้าประสงค์ 1. กรมมีโครงสร้างที่เหมาะสมและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 2. บุคลากรของกรมมีขวัญกำลังใจในการทำงาน 3. ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจจากบริการของสำนัก 4. การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลให้มีประสิทธิภาพ 5. บุคลากรของกรมได้รับการพัฒนาสมรรถนะ 6. มีการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในกรมชลประทาน 7. มีผลการศึกษา วิจัย และการพัฒนาสนับสนุนการดำเนินงาน 8. บุคลกรมีสมรรถนะและขวัญกำลังใจในการทำงาน 9. มีระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
8
ผส.พบ. ฝ่ายบริหารทั่วไป สพบ-3.2 ,สพบ. - 7.1, สพบ. - 8.1,
สพบ , สพบ. _ ฝ่าย - 1.1 สพบ._ฝ่าย - 2.1, สพบ._ฝ่าย - 3.1 ส่วนบริหารงานบุคคล สพบ-1.1, สพบ-2.1, สพบ , สพบ-3.2 , สพบ-4.1 , สพบ-8.1, สพบ-8.2 , สพบ-9.2, สพบ_ฝ่าย-4.1, สพบ_ฝ่าย-5.1, สพบ_ฝ่าย-6.1, สพบ_ฝ่าย-7.1,สพบ_ฝ่าย-8.1 ส่วนวินัยและระบบคุณธรรม สพบ-3.2, สพบ-4.1, สพบ-6.1, สพบ-8.1, สพบ_ฝ่าย-10.1, สพบ_ฝ่าย-11.1, สพบ_ฝ่าย-12.1, สพบ_ฝ่าย-13.1 ส่วนฝึกอบรม สพบ-3.2, สพบ-4.1, สพบ-5.1, สพบ-5.2, สพบ-7.1, สพบ-8.1, สพบ_ฝ่าย-3.2, สพบ_ฝ่าย-14.1, สพบ_ฝ่าย-15.1, สพบ_ฝ่าย-16.1 -กลุ่มพัฒนาระบบงานและอัตรากำลัง -ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง -ฝ่ายทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ -ฝ่ายสวัสดิการ
9
กลุ่มพัฒนาระบบงานและอัตรากำลัง
สพบ ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนการปรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในกรมชลประทาน สพบ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อการปฏิบัติงาน สพบ ร้อยละความพึงพอใจของผู้บริหารต่อโครงสร้างของกรม สพบ ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริการของสำนักฯ ทางด้านการบริหารงานบุคคล สพบ ร้อยละของข้าราชการในสำนัก/กอง ที่ได้รับการพัฒนาตาม IDP สพบ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรในสำนักต่อการปฏิบัติงาน สพบ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนการดำเนินการพัฒนาระบบ สพบ_ฝ่าย-4.1 ระดับความสำเร็จในการวิเคราะห์กำลังคนและกำหนดกรอบอัตรากำลังตามแผน สพบ_ฝ่าย-5.1 ร้อยละของตำแหน่งสายงานที่ได้รับการทบทวนสมรรถนะตาม พรบ. ใหม่ สพบ_ฝ่าย-6.1 ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด สพบ_ฝ่าย-8.1 ระดับความสำเร็จในการกำหนดหลักเกณฑ์ (เพิ่มเติม) ในการพิจารณาคัดเลือกและประเมินบุคคล กลุ่มพัฒนาระบบงานและอัตรากำลัง ฝ่ายสรรหา และบรรจุแต่งตั้ง ฝ่ายทะเบียนประวัติ และบำเหน็จบำนาญ ฝ่ายสวัสดิการ
10
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
ส่วนบริหารงานบุคคล สพบ ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนการปรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในกรมชลประทาน สพบ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อการปฏิบัติงาน สพบ ร้อยละความพึงพอใจของผู้บริหารต่อโครงสร้างของกรม สพบ ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริการของสำนักฯ ทางด้านการบริหารงานบุคคล สพบ ร้อยละของข้าราชการในสำนัก/กอง ที่ได้รับการพัฒนาตาม IDP สพบ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรในสำนักต่อการปฏิบัติงาน สพบ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนการดำเนินการพัฒนาระบบ สพบ_ฝ่าย-4.1 ระดับความสำเร็จในการวิเคราะห์กำลังคนและกำหนดกรอบอัตรากำลังตามแผน สพบ_ฝ่าย-5.1 ร้อยละของตำแหน่งสายงานที่ได้รับการทบทวนสมรรถนะตาม พรบ. ใหม่ สพบ_ฝ่าย-6.1 ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด สพบ_ฝ่าย-8.1 ระดับความสำเร็จในการกำหนดหลักเกณฑ์ (เพิ่มเติม) ในการพิจารณาคัดเลือกและประเมินบุคคล ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง สพบ-4.1 , สพบ-8.1 สพบ_ฝ่าย-5.1 , สพบ_ฝ่าย-6.1 , สพบ_ฝ่าย-7.1,สพบ_ฝ่าย-8.1
11
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
สพบ-4.1 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลเทียบกับแผน สพบ-8.1 ร้อยละของข้าราชการในสำนัก/กอง ที่ได้รับการพัฒนาตาม IDP สพบ_ฝ่าย-5.1 ร้อยละของตำแหน่งสายงานที่ได้รับการทบทวนสมรรถนะตาม พรบ. ใหม่ สพบ_ฝ่าย-6.1 ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด สพบ_ฝ่าย-8.1 ระดับความสำเร็จในการกำหนดหลักเกณฑ์ (เพิ่มเติม) ในการพิจารณาคัดเลือกและประเมินบุคคลเพื่อเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น (ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร /ว 22 ลว. 30 ก.ย. 40) ตามแผน เส้นทางความก้าวหน้า (PMQA) ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนกำหนดเส้นทางความก้าวหน้าในสายงานสำหรับตำแหน่งทางการบริหารสายงานหลัก สต.บค.1 สต.บค.2 สต.บค.3
12
สต.บค.1 สต.บค.2 สต.บค.3 -เส้นทางความก้าวหน้า (PMQA) -สพบ_ฝ่าย-7.1
-รับผิดชอบ กพร. สลก. กผง. ศท. สบก. สอบ. สชป.1 สชป.4 สชป.7 สชป.10 สชป.13 สชป.16 สต.บค.2 สพบ_ฝ่าย-5.1 -สพบ_ฝ่าย-6.1, สพบ_ฝ่าย-7.1 -รับผิดชอบ กพศ. กงบ. กพด. สคก. สพบ. สวพ. สชป.2 สชป.5 สชป.8 สชป สชป.14 สชป.17 สต.บค.3 -รับผิดชอบ กตน. กมด. สจก. สคญ. สรธ. สอน. สชป.3 สชป.6 สชป.9 สชป สชป.15 - นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ จำนวน 1 คน - นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ จำนวน 3 คน เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน จำนวน 1 คน - นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ จำนวน 2 คน - นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ จำนวน 2 คน - เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน จำนวน 1 คน -นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ จำนวน 2 คน - นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ จำนวน 1 คน - เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน จำนวน 1 คน - ลูกจ้างประจำ จำนวน 1 คน
13
สต.บค.1 สต.บค.2 สต.บค.3 -เส้นทางความก้าวหน้า (PMQA) ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนกำหนดเส้นทางความก้าวหน้าในสายงานสำหรับตำแหน่งทางการบริหารสายงานหลัก -สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ -ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการคัดเลือกข้าราชการตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 -สพบ_ฝ่าย-6.1 ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผน -สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -สมรรถนะ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการประยุกต์ใช้สมรรถนะให้สอดคล้องกับระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 -ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ -ร้อยละของตำแหน่งว่าง (พนักงานราชการ) ที่ได้รับการจัดจ้างภายในระยะเวลาที่กำหนด -ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ (เพิ่มเติม) ในการพิจารณาคัดเลือกเพื่อเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการคัดเลือกข้าราชการตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 -สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ -ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการหรือชำนาญการพิเศษ และระดับชำนาญการพิเศษ -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการคัดเลือกข้าราชการตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 -ร้อยละของข้าราชการที่ได้รับการนับระยะเวลาที่เกี่ยวข้องและเกื้อกูลฯ ตามที่กรมฯ อนุมัติให้ดำเนินการ
14
สต.บค.1 นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ
-เส้นทางความก้าวหน้า (PMQA) ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนกำหนดเส้นทางความก้าวหน้าในสายงานสำหรับตำแหน่งทางการบริหารสายงานหลัก -สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ -ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการคัดเลือกข้าราชการตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ คนที่ 1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลา ที่กำหนด - การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำ ของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและ ผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ คนที่ 2 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลา ที่กำหนด การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของ หน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนกำหนดเส้นทางความก้าวหน้า ในสายงานสำหรับตำแหน่งทางการบริหารสายงานหลัก - การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและ ผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด 14
15
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน
นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ สต.บค.1 -เส้นทางความก้าวหน้า (PMQA) ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนกำหนดเส้นทางความก้าวหน้าในสายงานสำหรับตำแหน่งทางการบริหารสายงานหลัก -สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ -ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการคัดเลือกข้าราชการตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ คนที่ 3 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำ กรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและ ลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคล เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมิน บุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำ กรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและ ลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคล เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมิน บุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด 15
16
นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ คนที่ 1
สต.บค.2 -สพบ_ฝ่าย-5.1 ร้อยละของตำแหน่งสายงานที่ได้รับการทบทวนสมรรถนะตาม พรบ. ใหม่ -สพบ_ฝ่าย-6.1 ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผน -สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ (กพศ. กงบ. กพด. สคก. สพบ. สวพ. สชป.2 สชป.8 สชป.11 สชป.14 สชป.17) -ร้อยละของตำแหน่งว่าง (พนักงานราชการ) ที่ได้รับการจัดจ้างภายในระยะเวลาที่กำหนด -ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ ในการพิจารณาคัดเลือกเพื่อเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการคัดเลือกข้าราชการตามหลักเกณฑ์ ว10/48 นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ - ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ - ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ ในการพิจารณาคัดเลือกเพื่อเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส - ร้อยละของตำแหน่งว่าง (พนักงานราชการ) ที่ได้รับการจัดจ้างภายในระยะเวลาที่กำหนด - การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ คนที่ 1 - ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ - ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน - การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด 16
17
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ คนที่ 2 เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน
นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ สต.บค.2 -สพบ_ฝ่าย-5.1 ร้อยละของตำแหน่งสายงานที่ได้รับการทบทวนสมรรถนะตาม พรบ. ใหม่ -สพบ_ฝ่าย-6.1 ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผน -สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ (กพศ. กงบ. กพด. สคก. สพบ. สวพ. สชป.2 สชป.8 สชป.11 สชป.14 สชป.17) -ร้อยละของตำแหน่งว่าง (พนักงานราชการ) ที่ได้รับการจัดจ้างภายในระยะเวลาที่กำหนด -ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ ในการพิจารณาคัดเลือกเพื่อเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการคัดเลือกข้าราชการตามหลักเกณฑ์ ว10/48 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ คนที่ 2 - ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ - ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ ในการพิจารณาคัดเลือกเพื่อเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการประยุกต์ใช้สมรรถนะให้สอดคล้องกับระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 -ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผน - การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน - ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ - ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ ในการพิจารณาคัดเลือกเพื่อเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส - การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด 17
18
นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
-สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ (กตน. กมด. สจก. สคญ. สรธ. สอน. สชป.3 สชป.6 สชป.9 สชป.12 สชป.15) -ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการหรือชำนาญการพิเศษ และระดับชำนาญการพิเศษ -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการคัดเลือกข้าราชการตามหลักเกณฑ์ ว10/48 -ร้อยละของข้าราชการที่ได้รับการนับระยะเวลาที่เกี่ยวข้องและเกื้อกูลฯ ตามที่กรมฯ อนุมัติให้ดำเนินการ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ - ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ - ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการระดับชำนาญการหรือชำนาญการพิเศษ และระดับชำนาญการพิเศษ - การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ - ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ - ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการระดับชำนาญการหรือชำนาญการพิเศษ และระดับชำนาญการพิเศษ - การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด 18
19
เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน
-สพบ_ฝ่าย-7.1 ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ (กตน. กมด. สจก. สคญ. สรธ. สอน. สชป.3 สชป.6 สชป.9 สชป.12 สชป.15) -ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการหรือชำนาญการพิเศษ และระดับชำนาญการพิเศษ -ระดับความสำเร็จของการดำเนินการคัดเลือกข้าราชการตามหลักเกณฑ์ ว10/48 -ร้อยละของข้าราชการที่ได้รับการนับระยะเวลาที่เกี่ยวข้องและเกื้อกูลฯ ตามที่กรมฯ อนุมัติให้ดำเนินการ เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน - ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งข้าราชการกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ - ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการระดับชำนาญการหรือชำนาญการพิเศษ และระดับชำนาญการพิเศษ - การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด ลูกจ้างประจำ - ร้อยละของตำแหน่งว่างที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -การตรวจคุณสมบัติในการแต่งตั้งลูกจ้างประจำกรณีต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งลูกจ้างประจำของหน่วยงานในสังกัด สำนัก/กอง ที่รับผิดชอบ - การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประเมินบุคคลและผลงานตามหลักเกณฑ์ ว 10/48 ภายในเวลาที่กำหนด - ร้อยละความสำเร็จของการลงทะเบียนรับ - ส่งเอกสาร (E-สารบรรณ) 19
20
แบบกำหนดและประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน (ชป.133/1)
21
หมายเลข 1 รอบการประเมิน แบ่งเป็น 2 รอบ คือ
ครั้งที่ 1 ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคมของปีถัดไป ครั้งที่ 2 ระยะเวลาตั้งแต่ 1 เมษายน ถึง 30 กันยายนของปีเดียวกัน หมายเลข 2 ชื่อและนามสกุลของผู้รับการประเมิน หมายเลข 3 ชื่อตำแหน่งของผู้รับการประเมิน และระดับตำแหน่งของผู้รับการประเมิน หมายเลข ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับมอบหมายงาน หมายเลข ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมิน หมายเลข 5 ชื่อและนามสกุลของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) หมายเลข 6 ชื่อตำแหน่งของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และระดับตำแหน่งของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) หมายเลข ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) ลงลายมือชื่อมอบหมายงาน หมายเลข ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) ลงลายมือแจ้งผลการประเมิน
22
หมายเลข 8 ผลงานของผู้รับการประเมิน ได้แก่
สำหรับการดำเนินการในหมายเลข ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และผู้รับการประเมินกำหนดร่วมกันตามความเหมาะสม หมายเลข 8 ผลงานของผู้รับการประเมิน ได้แก่ 1. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม / คำรับรองการปฏิบัติราชการ 2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน 3. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ
23
หมายเลข 9 ชื่อตัวชี้วัด
สำหรับการดำเนินการในหมายเลข ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และผู้รับการประเมินกำหนดร่วมกันตามความเหมาะสม หมายเลข 9 ชื่อตัวชี้วัด สามารถกำหนดเป็น ระดับความสำเร็จ / ร้อยละ / จำนวน / ระยะเวลา / อัตราส่วน อาจแยกออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเชิงปริมาณ เช่น ร้อยละของจำนวนรายการที่ดำเนินการล่าช้ากว่า 30 นาที ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายเชิงคุณภาพที่แปลงผลเป็นค่าเชิงปริมาณ เช่น ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายเชิงคุณภาพ เช่น คุณภาพรายงานที่นำเสนอ
24
สำหรับการดำเนินการในหมายเลข ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และผู้รับการประเมินกำหนดร่วมกันตามความเหมาะสม หมายเลข 10 หน่วยนับ ให้ระบุหน่วยนับให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในหมายเลข 9
25
สำหรับการดำเนินการในหมายเลข ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และผู้รับการประเมินกำหนดร่วมกันตามความเหมาะสม หมายเลข 11 คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย แบ่งออกเป็น 5 ระดับ โดยให้ความหมายของค่าเป้าหมายในแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับ ค่าเป้าหมายระดับต่ำสุดที่ยอมรับได้ ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ หนึ่ง คะแนน ระดับ ค่าเป้าหมายระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สอง คะแนน ระดับ ค่าเป้าหมายระดับมาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สาม คะแนน ระดับ ค่าเป้าหมายระดับยากปานกลาง ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สี่ คะแนน ระดับ ค่าเป้าหมายระดับยากมาก ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ ห้า คะแนน
26
หมายเลข 12 ผลสัมฤทธิ์ของงาน คือ ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง
สำหรับการดำเนินการในหมายเลข ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และผู้รับการประเมินกำหนดร่วมกันตามความเหมาะสม หมายเลข 12 ผลสัมฤทธิ์ของงาน คือ ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง
27
หมายเลข 13 คะแนนการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน
สำหรับการดำเนินการในหมายเลข ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และผู้รับการประเมินกำหนดร่วมกันตามความเหมาะสม หมายเลข 13 คะแนนการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) เป็นผู้ให้คะแนนโดยพิจารณาเปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้จริง
28
หมายเลข 14 ค่าน้ำหนักแบ่งเป็น 3 ส่วน ตามลักษณะงาน คือ
สำหรับการดำเนินการในหมายเลข ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และผู้รับการประเมินกำหนดร่วมกันตามความเหมาะสม หมายเลข 14 ค่าน้ำหนักแบ่งเป็น 3 ส่วน ตามลักษณะงาน คือ 1. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม / คำรับรองการปฏิบัติราชการ, 2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน, 3. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ หากมีผลสัมฤทธิ์ของงานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงานเพียงส่วนเดียวให้กำหนดค่าน้ำหนักเท่ากับ ถ้ามีผลสัมฤทธิ์ของงานมากกว่า 1 ส่วน การกำหนดค่าน้ำหนักให้ความสำคัญกับผลสัมฤทธิ์ของงานส่วนที่ 1 และ 2 เป็นหลัก โดยกำหนดค่าน้ำหนักรวมกันไม่เกิน เช่นหากมีผลงาน ส่วนที่ 2 กำหนดค่าน้ำหนักเท่ากับ 100 ส่วนที่ กำหนดค่าน้ำหนักรวมกันเท่ากับ 100 ส่วนที่ กำหนดค่าน้ำหนักรวมกันเท่ากับ 100 ส่วนที่ กำหนดค่าน้ำหนักรวมกันเท่ากับ 100 ส่วนที่ กำหนดค่าน้ำหนักรวมกันเท่ากับ 100
29
สำหรับการดำเนินการในหมายเลข ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และผู้รับการประเมินกำหนดร่วมกันตามความเหมาะสม หมายเลข 15 รวมคะแนน = คะแนนการประเมินผลงาน (ก) x ค่าน้ำหนักของผลงานแต่ละรายการ (ข) x 20 100 คะแนนการประเมินผลงาน (ก) ในหมายเลข 13 คือ คะแนนที่ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) เป็นผู้ประเมิน ค่าน้ำหนักของผลงานแต่ละรายการ (ข) ในหมายเลข 14 คือ ค่าน้ำหนักของผลงานแต่ละรายการ ซึ่งแต่ละรายการไม่จำเป็นต้องกำหนดเท่ากัน แต่เมื่อรวมค่าน้ำหนักทุกรายการแล้วต้องเท่ากับ 100 20 คือ น้ำหนักค่าเป้าหมายของแต่ละระดับคะแนน ซึ่งกำหนดไว้ 5 ระดับ เมื่อรวมแล้วจะได้ ใช้เป็นตัวคูณเพื่อให้ค่าคะแนนรวมเป็นฐาน (เป็นจำนวนเต็ม ไม่มีเศษทศนิยม)
30
หมายเลข 16 ผลรวมคะแนนของผลงานแต่ละรายการในหมายเลข 15
สำหรับการดำเนินการในหมายเลข ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และผู้รับการประเมินกำหนดร่วมกันตามความเหมาะสม หมายเลข 16 ผลรวมคะแนนของผลงานแต่ละรายการในหมายเลข 15
31
แบบกำหนดและประเมินสมรรถนะ (ชป.133/2)
32
หมายเลข 1 รอบการประเมิน แบ่งเป็น 2 รอบ คือ
ครั้งที่ 1 ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคมของปีถัดไป ครั้งที่ 2 ระยะเวลาตั้งแต่ 1 เมษายน ถึง 30 กันยายนของปีเดียวกัน หมายเลข 2 ชื่อและนามสกุลของผู้รับการประเมิน หมายเลข 3 ชื่อตำแหน่งของผู้รับการประเมิน และระดับตำแหน่งของผู้รับการประเมิน หมายเลข 4 ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อ หมายเลข 5 ชื่อและนามสกุลของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) หมายเลข 6 ชื่อตำแหน่งของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และระดับตำแหน่งของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) หมายเลข 7 ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) ลงลายมือชื่อ
33
หมายเลข 8 รายการสมรรถนะที่ใช้ในการประเมิน ได้แก่
1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ : ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ดีหรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ 2. บริการที่ดี : ความตั้งใจและความพยายามของข้าราชการในการให้บริการต่อประชาชน ข้าราชการ หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ : ความสนใจใฝ่รู้ สั่งสม ความรู้ความสามารถ ของตนในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ด้วยการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม : การดำรงตนและประพฤติปฏิบัติ อย่างถูกต้องเหมาะสมทั้งตามกฎหมาย คุณธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และจรรยาข้าราชการเพื่อรักษา ศักดิ์ศรีแห่ง ความเป็นข้าราชการ 5. การทำงานเป็นทีม : ความตั้งใจที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่น เป็นส่วนหนึ่งในทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ 6. การดำเนินงานเชิงรุก : เล็งเห็นปัญหาหรือโอกาส พร้อมทั้งจัดการปัญหานั้นๆ หรือใช้โอกาสที่เกิดขึ้นให้เป็นประโยชน์ต่องาน 7. ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน : ความรู้ความเข้าใจในภารกิจ และขั้นตอน ดำเนินงานของกรมชลประทาน (รายละเอียดรายการพฤติกรรมของแต่ละสมรรถนะตามเอกสารหมายเลข 4 ที่แนบ)
34
หมายเลข 9 ระดับสมรรถนะที่องค์กรคาดหวัง กำหนดโดยจำแนกตามประเภท และระดับของข้าราชการ ดังนี้
35
หมายเลข 9 ระดับสมรรถนะที่องค์กรคาดหวัง กำหนดโดยจำแนกตามประเภท และระดับของข้าราชการ ดังนี้
36
หมายเลข 9 ระดับสมรรถนะที่องค์กรคาดหวัง กำหนดโดยจำแนกตามประเภท และระดับของข้าราชการ ดังนี้
37
หมายเลข 10 คะแนนการประเมินสมรรถนะ จะใช้มาตรวัดแบบพิจารณาจุดอ่อนจุดแข็งเชิงพฤติกรรมของผู้รับการประเมิน ให้ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้ประเมินโดยมีเกณฑ์การให้คะแนนประเมินสมรรถนะ ดังนี้
38
หมายเลข 10 คะแนนการประเมินสมรรถนะ จะใช้มาตรวัดแบบพิจารณาจุดอ่อนจุดแข็งเชิงพฤติกรรมของผู้รับการประเมิน ให้ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้ประเมินโดยมีเกณฑ์การให้คะแนนประเมินสมรรถนะ ดังนี้ การพิจารณาให้คะแนนการประเมินมีข้อควรระวัง 2 ประการ คือ 1) การให้คะแนนระดับดี (4 คะแนน) ผู้ประเมินต้องแน่ใจว่าผู้รับการประเมินได้แสดงพฤติกรรมตามสมรรถนะได้ ดีกว่าผู้รับการประเมินคนอื่นโดยเฉลี่ย 2) การให้คะแนนระดับดีเยี่ยม (5 คะแนน) ผู้ประเมินต้องแน่ใจว่าพฤติกรรมที่ผู้รับการประเมินแสดงออกนั้น เด่นชัดจนถือได้ว่าเป็นจุดแข็งของผู้รับการประเมิน
39
หมายเลข 11 ค่าน้ำหนักของแต่ละรายการสมรรถนะ กำหนดไว้ดังนี้
1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ค่าน้ำหนัก 15 2. บริการที่ดี ค่าน้ำหนัก 15 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ ค่าน้ำหนัก 15 4. การยึดมั่นในความถูกต้อง ค่าน้ำหนัก 10 ชอบธรรมและจริยธรรม 5. การทำงานเป็นทีม ค่าน้ำหนัก 15 6. การดำเนินงานเชิงรุก ค่าน้ำหนัก 15 7. ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน ค่าน้ำหนัก 15
40
หมายเลข 12 รวมคะแนน = คะแนนการประเมินสมรรถนะ (ก) x ค่าน้ำหนักของแต่ละรายการสมรรถนะ (ข) x 20 100
41
(เป็นจำนวนเต็ม ไม่มีเศษทศนิยม)
หมายเลข 12 รวมคะแนน = คะแนนการประเมินสมรรถนะ (ก) x ค่าน้ำหนักของแต่ละรายการสมรรถนะ (ข) x 20 100 คะแนนการประเมินสมรรถนะ (ก) ในหมายเลข 10 คือ คะแนนที่ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) เป็นผู้ประเมิน โดยใช้แนวทางการประเมินตามที่ระบุในหมายเลข 15 ค่าน้ำหนักของแต่ละรายการสมรรถนะ (ข) คือ ค่าน้ำหนักของแต่ละรายการสมรรถนะที่กำหนดไว้ในหมายเลข 11 20 คือ น้ำหนักค่าเป้าหมายของแต่ละระดับคะแนน ซึ่งกำหนดไว้ 5 ระดับ เมื่อรวมแล้วจะได้ ใช้เป็นตัวคูณเพื่อให้ค่าคะแนนรวมเป็นฐาน 100 (เป็นจำนวนเต็ม ไม่มีเศษทศนิยม)
42
หมายเลข 13 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตามสมรรถนะที่ประเมิน หากพื้นที่ไม่พอให้ระบุเพิ่มเติมในแบบชป.133/3
43
หมายเลข 14 วิธีการพัฒนารายบุคคลสำหรับแต่ละรายการสมรรถนะ เช่น การสอนงาน การมอบหมายงาน การให้ข้าราชการเรียนรู้หรือศึกษาด้วยตนเอง การให้คำปรึกษาแนะนำ การเป็นพี่เลี้ยง การฝึกอบรม ฯลฯ
44
หมายเลข 15 แนวทางการประเมินสมรรถนะ ให้ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา ) นำข้อมูลจากแบบ IDP 1 มาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาให้คะแนน โดยการเปรียบเทียบระดับสมรรถนะที่องค์กรคาดหวังสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งนั้นๆ กับสมรรถนะของข้าราชการที่ถูกประเมินว่าอยู่ในระดับใด โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนประเมิน ดังนี้ (รายละเอียดคำอธิบายนิยามตามหมายเลข 10) คะแนน นิยาม จำเป็นต้องพัฒนาอย่างยิ่ง ต้องพัฒนา พอใช้ ดี ดีเยี่ยม
45
หมายเลข 16 ผลรวมคะแนนการประเมินสมรรถนะแต่ละรายการในหมายเลข 12
ทั้ง 7 รายการสมรรถนะ
60
บันทึกเหตุการณ์ที่สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตามสมรรถนะที่ประเมิน (ชป
บันทึกเหตุการณ์ที่สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตามสมรรถนะที่ประเมิน (ชป.133/3)
61
แบบแจ้งผลการประเมิน Feedback Report (ชป.133/4)
62
หมายเลข 1 รอบการประเมิน แบ่งเป็น 2 รอบ คือ
ครั้งที่ 1 ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคมของปีถัดไป ครั้งที่ 2 ระยะเวลาตั้งแต่ 1 เมษายน ถึง 30 กันยายนของปีเดียวกัน หมายเลข 2 สำนัก / กอง ที่ผู้รับการประเมินสังกัด หมายเลข 3 ส่วน / กลุ่มงาน / ฝ่าย / โครงการ ที่ผู้รับการประเมินสังกัด หมายเลข 4 ชื่อ นามสกุล ผู้รับการประเมิน หมายเลข 5 ชื่อตำแหน่งและระดับของผู้รับการประเมิน
63
หมายเลข ผลงานของผู้รับการประเมินที่เป็นจุดเด่น / สิ่งที่ควรพัฒนาหรือปรับปรุง โดยแบ่งเป็น 3 ลักษณะงาน คือ 1. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม / คำรับรองการปฏิบัติราชการ 2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน 3. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ
64
หมายเลข 8 ผลสัมฤทธิ์ของงาน คือ ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง
หมายเลข 7 ชื่อตัวชี้วัดที่เป็นจุดเด่น หรือที่ควรพัฒนาหรือปรับปรุง
65
หมายเลข 9 คะแนนที่ได้ คือ คะแนนการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน แบ่งเป็น 5 ระดับ โดยนำผลคะแนนมาจาก
แบบกำหนดและประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน (ชป.133/1)
66
หมายเลข 10 จุดเด่น / สิ่งที่ควรพัฒนาหรือปรับปรุง
ผู้ประเมินให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานตามหมายเลข 6 ด้านจุดเด่น / สิ่งที่ควรพัฒนาหรือปรับปรุง
67
หมายเลข 11 รายการสมรรถนะของผู้รับการประเมินที่เป็นจุดเด่น / สิ่งที่ควรพัฒนาหรือปรับปรุง
หมายเลข ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง นำมาจากแบบกำหนดและประเมินสมรรถนะ (ชป.133/2)
68
หมายเลข คะแนนที่ได้ คือ คะแนนการประเมินสมรรถนะ แบ่งเป็น 5 ระดับ โดยนำผลคะแนนมาจาก แบบกำหนดและประเมินสมรรถนะ (ชป.133/2)
69
หมายเลข จุดเด่น / สิ่งที่ควรพัฒนาหรือปรับปรุง ผู้ประเมินให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะตามหมายเลข 11 ด้านจุดเด่น / สิ่งที่ควรพัฒนาหรือปรับปรุง
70
หมายเลข 15 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
หมายเลข ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม กรณีที่ผู้ประเมินมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์ต่อผู้รับการประเมิน / การปฏิบัติงาน สามารถระบุได้ในส่วนนี้ หมายเลข 16 ผู้ประเมินลงลายมือชื่อ ชื่อตำแหน่งของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) ระดับตำแหน่งของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) และวันที่แจ้งผลการประเมิน หมายเลข 17 ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อ ชื่อตำแหน่งของผู้รับการประเมิน ระดับตำแหน่งของผู้รับการประเมิน และวันที่รับทราบผลการประเมิน
71
แบบกำหนดและประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ชป.133/1
รอบการประเมิน (1) ครั้งที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 ชื่อผู้รับการประเมิน (2) (นาย/นาง/นางสาว) น.ส.พอเพียง การเงิน ตำแหน่ง/ระดับ (3) เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีชำนาญงาน ลงชื่อ (4.1) น.ส.พอเพียง การเงิน วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ชื่อผู้บังคับบัญชา (5) (นาย/นาง/นางสาว) นางสำราญ อยู่ดี ตำแหน่ง/ระดับ (6) หัวหน้าฝ่ายการเงิน ลงชื่อ (7.1) นางสำราญ อยู่ดี วันที่ 15 มีนาคม 2553
72
1. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม /
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ผลงาน (8) ตัวชี้วัดผลงาน ชื้อตัวชี้วัด (9) หน่วยนับ (10) 1. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม/คำรับรองการปฏิบัติราชการ การเบิกจ่ายเงินตามใบสำคัญต่างๆ จากงบดำเนินงานในระบบ GFMIS ร้อยละที่เบิกจ่ายได้ทันภายในกำหนดเวลา (1 วันทำการ/7 ชม.) ร้อยละ
73
1. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม /
คำรับรองการปฏิบัติราชการ คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย (11) ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายในระดับท้าทายมีความยากค่อนข้างมาก 1 2 3 4 5 > 3 วันทำการ 3 วันทำการ 2 วันทำการ 1 วันทำการ < 1 วันทำการ
74
3 ชม. 5 50 (กxขx20) 100 (12) (13) (14) (15) ผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนน (ก)
1. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม / คำรับรองการปฏิบัติราชการ ผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (12) (13) (14) (15) 3 ชม. 5 50 (กxขx20) 100
75
2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน
ผลงาน (8) ตัวชี้วัดผลงาน ชื้อตัวชี้วัด (9) หน่วยนับ (10) 2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน การตรวจสอบใบสำคัญและขอตั้งเบิกจ่ายค่าตอบแทนพนักงานราชการ เบิกจ่ายให้แล้วเสร็จภายใน วันที่ 25 ของเดือน ระยะ เวลาที่แล้วเสร็จ
76
2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย (11)
ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายในระดับท้าทายมีความยากค่อนข้างมาก 1 2 3 4 5 > วันที่ 26 ของเดือน วันที่ 26 ของเดือน วันที่ 25 วันที่ 24 < วันที่ 24 ของเดือน
77
2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน
ผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (12) (13) (14) (15) วันที่ 24 ของเดือน 4 50 40 (กxขx20) 100
78
ข้อที่ 1 งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาตร์กรม / คำรับรองการปฏิบัติราชการ
รวมคะแนนได้ = 50 ข้อที่ 2 งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน รวมคะแนนได้ = 40 รวม (16) 90
79
แบบกำหนดและประเมินสมรรถนะ ชป.133/2
รอบการประเมิน (1) ครั้งที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 ชื่อผู้รับการประเมิน (2) (นาย/นาง/นางสาว) น.ส.พอเพียง การเงิน ตำแหน่ง / ระดับ (3) เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีชำนาญงาน ชื่อผู้บังคับบัญชา (5) (นาย/นาง/นางสาว) นางสำราญ อยู่ดี ตำแหน่ง / ระดับ (6) หัวหน้าฝ่ายการเงิน
80
1 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความมุ่งมั่นตั้งใจการปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน เรียนรู้ได้ด้วยการติดตามงานจากผู้บังคับบัญชา
81
1 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 2. บริการที่ดี
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 2. บริการที่ดี 1 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความตั้งใจในการให้บริการ ทั้งผู้รับบริการภายในและภายนอก เป็นอย่างดี ให้มีการฝึกอบรมด้านบริการสู่ความเป็นเลิศ
82
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 1 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี ให้ได้รับการฝีกอบรมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฏ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
83
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม 1 4 10 8 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความประพฤติเรียบร้อย ซื่อสัตย์ ขยัน หมั่นเพียร รักษาวินัยของการเป็นข้าราชการที่ดี -
84
1 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 5. การทำงานเป็นทีม
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 5. การทำงานเป็นทีม 1 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีมนุษย์สัมพันธ์ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี -
85
1 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 6. การดำเนินงานเชิงรุก
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 6. การดำเนินงานเชิงรุก 1 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) การเกตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่รับผิดชอบได้เป็นอย่างดี -
86
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 7. ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน 1 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความรู้ ความเข้าใจในภารกิจการดำเนินงานของกรมชลประทานเป็นอย่างดี -
87
100% 80 รวม (16) (รวม 7 ข้อ) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ รวมคะแนน = 12
1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ รวมคะแนน = 12 2. การบริการที่ดี รวมคะแนน = 12 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในสายงานอาชีพ รวมคะแนน = 12 4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม รวมคะแนน = 8 5. การทำงานเป็นทีม รวมคะแนน = 12 6. การดำเนินการเชิงรุก รวมคะแนน = 12 7. ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน รวมคะแนน = 12 100% 80 (รวม 7 ข้อ) รวม (16)
88
ชป. 133/1 แบบกำหนดและประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน รอบการประเมิน (1) ครั้งที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 ชื่อผู้รับการประเมิน (2) (นาย/นาง/นางสาว) น.ส. มีทรัพย์ พัฒนา ตำแหน่ง/ระดับ (3) นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ ลงชื่อ (4.1) น.ส. มีทรัพย์ พัฒนา วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ชื่อผู้บังคับบัญชา (5) (นาย/นาง/นางสาว) นายขยัน สม่ำเสมอ ตำแหน่ง/ระดับ (6) ผู้อำนวยการส่วนบริหารงานบุคคล ลงชื่อ (7.1) นายขยัน สม่ำเสมอ วันที่ 15 มีนาคม 2553
89
ผลงาน (8) ตัวชี้วัดผลงาน ชื้อตัวชี้วัด (9) หน่วยนับ (10) 1. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม/คำรับรองการปฏิบัติราชการ ได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และจัดทำร่างแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลกรมชลประทาน ปีงบประมาณ และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2552 ตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลและดำเนินการแก้ไขปรับปรุงตามมติที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลแล้วได้นำเสนอแผนดังกล่าวให้กรมฯ เห็นชอบ และเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน ปีงบประมาณ และแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ ตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ร้อยละ
90
65 70 75 80 85 คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย (11)
ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายในระดับท้าทายมีความยากค่อนข้างมาก 1 2 3 4 5 65 70 75 80 85
91
ผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (12) (13) (14) (15) ดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน ปีงบประมาณ และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2552 ตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลแล้วเสร็จ คิดเป็นร้อยละ100 5 40 (กxขx20) 100
92
2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน
ผลงาน (8) ตัวชี้วัดผลงาน ชื้อตัวชี้วัด (9) หน่วยนับ (10) 2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน ได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลและจัดทำเอกสารคำชี้แจงการแบ่งส่วนราชการภายในกรมชลประทาน และดำเนินการปรับปรุงตามมติที่ประชุมกับรองปลัดภารกิจฯ พร้อมทั้งเตรียมคำชี้แจงเพื่อตอบข้อคิดเห็นจากหน่วยงานกลาง ก่อนนำเสนอคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างของกระทรวงเกษตรฯ พิจารณาต่อไป ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามขั้นตอนการพิจารณาปรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในกรมชลประทาน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างกระทรวงเกษตรฯ ร้อยละ
93
65 70 75 80 85 คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย (11)
ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายในระดับท้าทายมีความยากค่อนข้างมาก 1 2 3 4 5 65 70 75 80 85
94
ผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (12) (13) (14) (15) ดำเนินการเสนอโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในกรมชลประทานต่อคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวงเกษตรฯ แล้วเสร็จตามแผนคิดเป็น ร้อยละ 100 5 40 (กxขx20) 100
95
ผลงาน (8) ตัวชี้วัดผลงาน ชื้อตัวชี้วัด (9) หน่วยนับ (10) 3. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม/คำรับรองการปฏิบัติราชการ ดำเนินการรวบรวมแบบสำรวจ ประมวลผล วิเคราะห์และจัดทำรายงานผลความพอใจของผู้รับบริการต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรของกรมในไตรมาสที่ 3 และ 4 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรของกรม ร้อยละ
96
65 70 75 80 85 คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย (11)
ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายในระดับท้าทายมีความยากค่อนข้างมาก 1 2 3 4 5 65 70 75 80 85
97
ผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (12) (13) (14) (15) ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรของกรม อยู่ที่ระดับ ร้อยละ 80 4 20 14 (กxขx20) 100
98
ข้อที่ 1 งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาตร์กรม / คำรับรองการปฏิบัติราชการ
รวมคะแนนได้ = 40 คะแนน ข้อที่ 2 งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน รวมคะแนนได้ = 40 คะแนน รวมคะแนนได้ = 14 คะแนน รวม (16) 94
99
ชป.133/2 แบบกำหนดและประเมินสมรรถนะ รอบการประเมิน (1) ครั้งที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 ชื่อผู้รับการประเมิน (2) (นาย/นาง/นางสาว) น.ส. มีทรัพย์ พัฒนา ตำแหน่ง / ระดับ (3) นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ ชื่อผู้บังคับบัญชา (5) (นาย/นาง/นางสาว) นายขยัน สม่ำเสมอ ตำแหน่ง / ระดับ (6) ผู้อำนวยการส่วนบริหารงานบุคคล
100
2 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความมุ่งมั่นตั้งใจการปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน เรียนรู้ได้ด้วยการติดตามงานจากผู้บังคับบัญชา
101
2 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 2. บริการที่ดี
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 2. บริการที่ดี 2 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความตั้งใจในการให้บริการ ทั้งผู้รับบริการภายในและภายนอก เป็นอย่างดี ให้มีการฝึกอบรมด้านบริการสู่ความเป็นเลิศ
102
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 2 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี ให้ได้รับการฝีกอบรมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฏ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
103
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม 2 4 10 8 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความประพฤติเรียบร้อย ซื่อสัตย์ ขยัน หมั่นเพียร รักษาวินัยของการเป็นข้าราชการที่ดี -
104
2 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 5. การทำงานเป็นทีม
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 5. การทำงานเป็นทีม 2 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีมนุษย์สัมพันธ์ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี -
105
1 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 6. การดำเนินงานเชิงรุก
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 6. การดำเนินงานเชิงรุก 1 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่รับผิดชอบได้เป็นอย่างดี -
106
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 7. ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน 1 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความรู้ ความเข้าใจในภารกิจการดำเนินงานของกรมชลประทานเป็นอย่างดี -
107
100% 80 รวม (16) (รวม 7 ข้อ) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ รวมคะแนน = 12
1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ รวมคะแนน = 12 2. การบริการที่ดี รวมคะแนน = 12 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในสายงานอาชีพ รวมคะแนน = 12 4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม รวมคะแนน = 8 5. การทำงานเป็นทีม รวมคะแนน = 12 6. การดำเนินการเชิงรุก รวมคะแนน = 12 7. ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน รวมคะแนน = 12 100% 80 (รวม 7 ข้อ) รวม (16)
108
ชป. 133/1 แบบกำหนดและประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน รอบการประเมิน (1) ครั้งที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 ชื่อผู้รับการประเมิน (2) (นาย/นาง/นางสาว) นายชลประทาน น้ำสมบูรณ์ ตำแหน่ง/ระดับ (3) วิศวกรชลประทานชำนาญการพิเศษ ลงชื่อ (4.1) นายชลประทาน น้ำสมบูรณ์ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ชื่อผู้บังคับบัญชา (5) (นาย/นาง/นางสาว) นายพัฒนา โครงสร้าง ตำแหน่ง/ระดับ (6) ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (วิศวกรรมชลประทาน) ระดับสูง ลงชื่อ (7.1) นายพัฒนา โครงสร้าง วันที่ 15 มีนาคม 2553
109
พื้นที่ชลประทานได้รับน้ำตามเป้าหมาย
ผลงาน (8) ตัวชี้วัดผลงาน ชื้อตัวชี้วัด (9) หน่วยนับ (10) 1. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม/คำรับรองการปฏิบัติราชการ พื้นที่ชลประทานได้รับน้ำตามเป้าหมาย อาคารชลประทานอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ร้อยละของพื้นที่ชลประทานที่ได้รับน้ำต่อพื้นที่เป้าหมาย ร้อยละของอาคารชลประทานอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ร้อยละ
111
5 35 (กxขx20) 100 ผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (12)
(13) (14) (15) พื้นที่ชลประทานที่ได้รับน้ำต่อพื้นที่เป้าหมาย ร้อยละ 100 5 35 อาคารชลประทานอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ร้อยละ 90 (กxขx20) 100
112
2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน
ผลงาน (8) ตัวชี้วัดผลงาน ชื้อตัวชี้วัด (9) หน่วยนับ (10) 2. งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน แผนการแก้ไขปัญหาอุทกภัย / ภัยแล้งในเขตพื้นที่ จำนวนโครงการที่มีการจัดทำแผนการแก้ไขปัญหาอุทกภัย / ภัยแล้งในเขตพื้นที่ โครงการ
113
โครงการ 2 โครงการ 4 โครงการ 5 โครงการ 7 โครงการ
คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย (11) ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายในระดับท้าทายมีความยากค่อนข้างมาก 1 2 3 4 5 โครงการ 2 โครงการ 4 โครงการ 5 โครงการ 7 โครงการ
114
จัดทำแผนแก้ไขปัญหาอุทกภัย / ภัยแล้งในเขตพื้นที่ จำนวน 4 โครงการ 3 20
ผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (12) (13) (14) (15) จัดทำแผนแก้ไขปัญหาอุทกภัย / ภัยแล้งในเขตพื้นที่ จำนวน 4 โครงการ 3 20 12 (กxขx20) 100
115
ร้อยละของความสำเร็จในการจัดทำคู่มือ
ผลงาน (8) ตัวชี้วัดผลงาน ชื้อตัวชี้วัด (9) หน่วยนับ (10) 3. งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาสตร์กรม/คำรับรองการปฏิบัติราชการ จัดทำคู่มือการจัดทำแผนที่น้ำท่วมเพื่อใช้ในการเตือนภัยน้ำท่วมเพื่อสนับสนุนตามประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน ในการป้องกันและบรรเทาภัยทางน้ำ ร้อยละของความสำเร็จในการจัดทำคู่มือ ร้อยละ
116
60 70 80 90 100 คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย (11)
ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายในระดับท้าทายมีความยากค่อนข้างมาก 1 2 3 4 5 60 70 80 90 100
117
ผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (12) (13) (14) (15) ดำเนินการจัดทำคู่มือการจัดทำแผนที่น้ำท่วมเพื่อใช้ในการเตือนภัยฯ สำเร็จ ร้อยละ 90 4 10 8 (กxขx20) 100
118
ข้อที่ 1 งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธศาตร์กรม / คำรับรองการปฏิบัติราชการ
รวมคะแนนได้ = คะแนน ข้อที่ 2 งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน รวมคะแนนได้ = คะแนน รวมคะแนนได้ = 8 คะแนน รวม (16) 90
119
ชป.133/2 แบบกำหนดและประเมินสมรรถนะ รอบการประเมิน (1) ครั้งที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 ชื่อผู้รับการประเมิน (2) (นาย/นาง/นางสาว) นายชลประทาน น้ำสมบูรณ์ ตำแหน่ง / ระดับ (3) วิศวกรชลประทานชำนาญการพิเศษ ชื่อผู้บังคับบัญชา (5) (นาย/นาง/นางสาว) นายพัฒนา โครงสร้าง ตำแหน่ง / ระดับ (6) ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (วิศวกรรมชลประทาน) ระดับสูง
120
3 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 3 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความมุ่งมั่นสูงที่จะปฏิบัติราชการให้ดี เช่น ได้ริเริ่มให้มีการจัดทำแผนที่น้ำท่วมเพื่อใช้ในการเตือนภัยน้ำท่วม -
121
3 5 15 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 2. บริการที่ดี
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 2. บริการที่ดี 3 5 15 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความเต็มในและตั้งใจให้บริการเพื่อสนองความต้องการและความพึงพอใจของผู้รับบริการเป็นอย่างดี -
122
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 3 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) เป็นผู้สนใจใฝ่รู้เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน เล่น ทำการศึกษาวิธีการในการจัดแผนที่น้ำท่วมเพื่อใช้ในการเตือนภัยน้ำท่วม -
123
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม 3 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) สามารถครองตนตามหลักกฏหมายและคุณธรรมและคุณธรรมตลอดจนแนวทางในวิชาชีพของตนได้อย่างดี โดยจะเห็นได้จากการพัฒนาวิชาชีพของตนอย่างสม่ำเสมอ -
124
3 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 5. การทำงานเป็นทีม
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 5. การทำงานเป็นทีม 3 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี โดยได้ร่วมเป็นคณะกรรมการและคณะทำงานต่างๆ ของหน่วยงาน ทำให้การดำเนินงานของหน่วยงานสำเร็จลุล่วงเป็นอย่าง -
125
3 4 15 12 (กxขx20) 100 (8) (9) (10) (11) (12) 6. การดำเนินงานเชิงรุก
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 6. การดำเนินงานเชิงรุก 3 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีการดำเนินงานเชิงรุกที่ชัดเจน เช่น ได้เล็งเห็นปัญหาของการเตือนภัยน้ำท่วมที่ยังขาดความชัดเจนในการเตือนภัยให้กับ ราษฏร จึงได้ริเริ่มให้มีการจัดทำแผนที่น้ำท่วมพร้อมจัดทำคู่มือ -
126
รายการสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ ที่องค์กร คาดหวัง คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (8) (9) (10) (11) (12) 7. ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน 3 4 15 12 (กxขx20) 100 บันทึกเหตุการณ์สำคัญที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สมรรถนะที่ประเมิน (กรณีพื้นที่ไม่พอให้บันทึกลงในแบบ ชป.133/3) วิธีการพัฒนา (13) (14) มีความเข้าใจในภารกิจของกรมชลประทานเป็นอย่างดี โดยได้ปฏิบัติงานสนองประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน ได้สำเร็จตามเป้าหมายตัวชีวัด -
127
100% 83 รวม (16) (รวม 7 ข้อ) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ รวมคะแนน = 12
1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ รวมคะแนน = 12 2. การบริการที่ดี รวมคะแนน = 15 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในสายงานอาชีพ รวมคะแนน = 12 4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม รวมคะแนน = 12 5. การทำงานเป็นทีม รวมคะแนน = 12 6. การดำเนินการเชิงรุก รวมคะแนน = 12 7. ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน รวมคะแนน = 8 100% 83 (รวม 7 ข้อ) รวม (16)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.