งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
Systems Analysis & Design

2 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
ชนิดของแบบจำลอง (Types of Models) แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Models) 2. แบบจำลองที่เป็นถ้อยคำอธิบาย (Descriptive Models) 3. แบบจำลองแผนภาพ (Graphical Models) Systems Analysis & Design

3 ชนิดของแบบจำลอง Types of Models
1. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Models) คือกลุ่มของสูตรที่ใช้อธิบายกฎเกณฑ์ทางเทคนิคของระบบใช้กับงานทางด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม งานด้าน/การคำนวณ หรืองานด้านธุรกิจ Systems Analysis & Design

4 2. แบบจำลองที่เป็นถ้อยคำอธิบาย (Descriptive Models) เป็นแบบจำลอง ที่กล่าวถึงเรื่องราว เช่น ถ้อยคำอธิบาย รายละเอียด รายงาน หรือรายการต่าง ๆ และยังสามารถเขียนให้อยู่ในรูปแบบของกระบวนการ หรือขั้นตอนวิธีที่อยู่ในรูปแบบของรหัสจำลอง (Pseudo Code) หรือประโยคโครงสร้างภาษาอังกฤษ(Structured English) Description Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx Systems Analysis & Design

5 3. แบบจำลองแผนภาพ (Graphical Models) หรือไดอะแกรม จัดเป็นแบบจำลองที่มีประโยชน์มากที่สุดที่พัฒนาขึ้นโดยนักวิเคราะห์ระบบสามารถเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในระบบ เช่น แผนภาพกระแสข้อมูล แผนภาพ E-R Systems Analysis & Design

6 เปรียบเทียบสัญลักษณ์ข์ของ Gane & Sarson และYourdon/Demarco
Systems Analysis & Design

7 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
ในการสร้าง Process Modeling สามารถสร้างด้วยเทคนิคที่แตกต่างกัน ตามเทคโนโลยี เช่น แบบจำลองเชิงโครงสร้าง (Structured Model) ที่ใช้กับการวิเคราะห์ระบบเชิงโครงสร้าง และแบบจำลองเชิงวัตถุ (Object Model) ที่ใช้กับการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ แบบจำลองเชิงโครงสร้างที่นิยมใช้ คือ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) แผนภาพจะแสดงถึงกระบวนการหรือกิจกรรมที่ปฏิบัติรวมถึงการแสดงความเคลื่อนไหวของข้อมูลในระบบ แผนภาพนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับระบบงานเดิมและระบบงานใหม่ก็ได้ Systems Analysis & Design

8 แผนภาพกระแสข้อมูล Data Flow Diagram : DFD
แผนภาพกระแสข้อมูลเปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียว เป็นแบบจำลองกระบวนการที่นำมาใช้กับการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงโครงสร้าง โดยแผนภาพกระแสข้อมูลจะแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Process กับ Data ที่เกี่ยวข้อง โดยข้อมูลจะแสดงถึง  ข้อมูลมาจากไหน  ข้อมูลไปที่ไหน  ข้อมูลเก็บไว้ที่ใด  เกิดเหตุการณ์ใดกับข้อมูลระหว่างทาง Systems Analysis & Design

9 วัตถุประสงค์ของแผนภาพกระแสข้อมูล
เป็นแผนภาพที่สรุปรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้ จากการวิเคราะห์ เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างนักวิเคราะห์ ระบบกับผู้ใช้งาน เป็นแผนภาพที่นำไปใช้ประโยชน์ใน ขั้นตอนของการออกแบบระบบ เป็นแผนภาพที่ใช้ในการอ้างอิงหรือเพื่อใช้ สำหรับการปรับปรุง/พัฒนาต่อไปใน อนาคต ทราบที่มาและที่ไปของข้อมูลที่ไหลไปยัง กระบวนการต่าง ๆ (Data and Process) Systems Analysis & Design

10 สัญลักษณ์ที่ใช้ในแผนภาพกระแสข้อมูล : DFD
ความหมาย ตัวอย่าง สัญลักษณ์การประมวลผล กระแสข้อมูล หน่วยงานภายนอก / ระบบภายนอก การเก็บข้อมูล Process Process 1 เช่ารถ หรือ สัญญาเช่า External Entity ลูกค้า Data Store 01 ข้อมูลลูกค้า

11 Process ข้อมูลที่เข้าไปยัง Process เมื่อผ่านการประมวลผล จะเปลี่ยนแปลงรูปแบบเป็น Output เป็นสัญลักษณ์แทนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ หรือกระบวนการที่ต้องทำในระบบ DFD จะต้องมีสัญลักษณ์ Process อย่างน้อย 1 Process ใช้สัญลักษณ์วงกลม และเขียนกำกับด้วยชื่อการประมวลผลนั้น และจำเป็นต้องมีหมายเลขกำกับเสมอ ที่สำคัญหมายเลข Process จะซ้ำกันไม่ได้ 1 คำนวณ เงินเดือนสุทธิ EX.1 เงินเดือน,ภาษี,ประกันสังคม เงินเดือนสุทธิ แสดง Data Flow ที่อินพุตไปยัง Process และ เอาท์พุตออกจาก Process

12 Systems Analysis & Design

13 Data Flow สัญลักษณ์ ลูกศร กระแสข้อมูล หรือการไหลของข้อมูล จะใช้สัญลักษณ์ลูกศรที่ไปพร้อมกับข้อมูลทำให้ทราบถึงข้อมูลที่เคลื่อนไหวไปมาระหว่าง Process ที่สำคัญ เมื่อมี Data flow อินพุทเข้าไปในระบบจะต้องมี Data flow ที่เอาต์พุท ออกมาเสมอ โดยอาจจะมี อินพุท หรือเอาต์พุทของ Data flow มากกว่า 1 จุดก็ได้ Data Flow ในระบบจะเกิดขึ้น ดังนี้ ระหว่าง Process 2 Process จาก Data store ไปยัง Process จาก Process ไปหน่วยเก็บข้อมูล จาก External Entity ไปยัง Process จาก Process ไปยัง External Systems Analysis & Design

14 คนไข้ ลูกค้า บัตรคนไข้ ใบสั่งซื้อ ใบเสร็จรับเงิน ค้นหา ประวัติคนไข้
ขาย Ex. การเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลที่ถูกต้อง Ex. การเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง

15 External Entity หน่วยงานภายนอกระบบ / ระบบที่อยู่ภายนอก เช่น บุคคล แผนกภายในองค์กร ระบบงาน หรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่ติดต่อกับระบบ สัญลักษณ์เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีหน้าที่ในการส่งหรือรับข้อมูลจาก Process เท่านั้น การติดต่อระหว่างหน่วยงานภายนอกกับระบบงาน ส่งข้อมูลเข้ามาในระบบ เรียกว่า แหล่งกำเนิดข้อมูล (Source) 2. รับข้อมูลที่ได้จากการทำงานของระบบ เรียกว่า ปลายทาง ( Sink หรือ Destination) จะต้องมีข้อมูลเข้า หรือออกจากสัญลักษณ์ Process เสมอ 4. จะมีข้อมูลเข้าหรือข้อมูลออกจาก Data Store โดยตรงไม่ได้ 5. จะมีข้อมูลเข้าหรือออกกับ External Entity อื่นโดยตรงไม่ได้ Systems Analysis & Design

16 Systems Analysis & Design

17 Systems Analysis & Design

18 คนไข้ ลูกค้า แผนกการเงิน พนักงาน
บัตรคนไข้ ใบสั่งซื้อ ใบเสร็จรับเงิน ค้นหา ประวัติคนไข้ ขาย แผนกการเงิน พนักงาน คำนวณ เงินเดือนสุทธิ เงินเดือน,ภาษี,ประกันสังคม เงินเดือนสุทธิ,สลิปเงินเดือน Ex. การเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลที่ถูกต้อง

19 คนไข้ ลูกค้า แพทย์ คลังสินค้า แผนกการเงิน พนักงาน
บัตรคนไข้ ใบสั่งซื้อ ใบส่งของ แพทย์ คลังสินค้า แผนกการเงิน พนักงาน เช็ค Ex. การเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง Systems Analysis & Design

20 1. ลูกศรจาก Data Store ไปยัง Process (input)
เป็นแหล่งที่ใช้เก็บข้อมูลไม่ว่าจะใช้สื่อในการจัดเก็บแบบใด Data Store จะต้องมีชื่อแฟ้มที่เก็บข้อมูล และมีการกำหนดลำดับการจัดเก็บ สำหรับลูกศรขอ Data Flow ที่ใช้เชื่อมระหว่าง Data Store กับ Process มีความหมาย ดังนี้ 1. ลูกศรจาก Data Store ไปยัง Process (input) D1 แฟ้มลูกค้า 2. ลูกศรจาก Process ไปยัง Data Store (output) input 1 ขาย 1 ขาย output D2 แฟ้มใบสั่งซื้อ Systems Analysis & Design

21 ขั้นตอนการเขียนแผนภาพกระแสข้อมูล
1. วิเคราะห์ให้ได้ว่า ระบบควรประกอบด้วย External Entity อะไรบ้าง ดำเนินการเขียนแผนภาพที่แสดงถึงสภาพแวดล้อมโดยรวมของ ระบบ หรือเรียกว่า Context Diagram วิเคราะห์ข้อมูลในระบบว่า ควรมี Data Store อะไรบ้าง วิเคราะห์ Process ในระบบว่า Process หลัก ๆ ควรมีอะไรบ้าง ประกอบด้วย Process ย่อย ๆ อะไรบ้าง ดำเนินการเขียน DFD ระดับที่ 1 ตามลำดับ ทำการตรวจสอบความสมดุลของแผนภาพ เพื่อทำการปรับแก้ จนกระทั่งได้แผนภาพที่สมบูรณ์ ในการสร้าง DFD อาจใช้เครื่องมือช่วยวาดอย่างโปรแกรม Visio หรือใช้ Case Tools ก็ได้

22 ลักษณะของ Data Flow Diagram ที่ดี
1. ควรเขียนให้ครอบคลุมใน 1 หน้ากระดาษ ชื่อที่เขียนกำกับสัญลักษณ์ต่าง ๆ ต้องเขียนไม่ให้ชื่อซ้ำกัน ถ้าสัญลักษณ์นั้นแทนสิ่งที่ต่างกัน หลีกเลี่ยงเส้นที่ต้องเขียนคร่อมกัน หรือตัดกัน การเขียนชื่อย่อ จะต้องเขียนโดยบันทึกความหมายของ ตัวย่อในพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) Systems Analysis & Design

23 Context Diagram (Level 0) : แผนภาพบริบท
แผนภาพบริบท เรียกว่า คอนเท็กซ์ไดอะแกรม ระดับ 0 โดย 1. แผนภาพดังกล่าวจะมีเพียง 1 Process ที่เป็นชื่อ ของระบบงาน มี Data Flow เชื่อมต่อระหว่าง Process กับ External Entity โดยไม่มี Data Store จุดประสงค์เพื่อแสดงสภาพแวดล้อมของระบบเพื่อให้เห็นว่าระบบมีการโต้ตอบกับ External Entity ใดบ้าง Systems Analysis & Design

24 สมาชิก ฝ่ายจัดซื้อ ระบบงานขาย ร้านสหกรณ์ ผู้จัดการ บัญชี
รายการสินค้าทั้งหมด รายการสินค้าคงเหลือ รายการสินค้าที่ต้องการ สมาชิก ฝ่ายจัดซื้อ สินค้า รายการสินค้าที่มีไว้ขาย ระบบงานขาย ร้านสหกรณ์ ใบเสร็จรับเงิน สรุปสินค้าคงเหลือ สำเนาใบสรุปยอดขายประจำวัน ใบสรุปยอดขายประจำวัน ผู้จัดการ บัญชี รายงานการขายสินค้า ใบสรุปยอดซื้อสะสมของสมาชิก แสดงแผนภาพบริบท Context Diagram ระบบงานขายร้านสหกรณ์

25 Systems Analysis & Design

26 Systems Analysis & Design

27 The End Process Modeling Part 1
Systems Analysis & Design


ดาวน์โหลด ppt 5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google